Page 22 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 22
บทที่ 2
แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวของ
ในชวงที่ผานมา ประเทศไทยไดมีการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย คือ การพัฒนา
ประเทศที่ยั่งยืน ยุคแรกของการพัฒนาประเทศ คือ ตั้งแตป พ.ศ. 2503 - 2513 จะเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ
จากการนําทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดในประเทศมาใชสนับสนุนการพัฒนา และไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่องมา
จนถึงปจจุบัน จากเปาหมายดังกลาวเนนการสรางสมดุลระหวางการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม โดย
การใชทรัพยากรในการพัฒนาประเทศที่สามารถสนองตอบความตองการของคนในรุนปจจุบัน โดยตองไมสราง
ผลกระทบตอคนรุนตอไปนั้น สิ่งสําคัญที่จะสะทอนแนวคิดดังกลาว คือ ทิศทางและนโยบายในการพัฒนาประเทศ
ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดศึกษาแนวทางการพัฒนาประเทศจากอดีตจนถึงปจจุบัน โดยศึกษาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ คําแถลงนโยบายของรัฐบาลเพื่อการบริหารราชการแผนดิน นโยบายทางเศรษฐกิจของ
ประเทศเฉพาะนโยบายการเปดเสรีการคาบริการในสาขาธุรกิจคาปลีกและหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อเปนกรอบใน
การนํามาวิเคราะหเพื่อหาคําตอบตอไป
2.1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน เปนแนวคิดในการพัฒนาประเทศที่มีความสําคัญและไดรับการกลาวถึงอยางมาก
นับตั้งแต ป พ.ศ. 2515 สืบเนื่องมาจากการประชุมสุดยอดวาดวยสิ่งแวดลอมของมนุษย ณ กรุงสตอกโฮม
ประเทศสวีเดน (Stockholm Conference) ซึ่งจัดขึ้นโดยองคการสหประชาชาติ เพื่อแกไขปญหาที่เกิดจาก
การใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอยเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยสาระสําคัญมุงไปที่การเรียกรองใหประชาชนในโลก
เปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตที่ฟุมเฟอยและใหมีการพัฒนาโดยไมทําลายสิ่งแวดลอม
คณะกรรมาธิการโลกในเรื่องสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (World Commission on Environment and
1
Development; WCED) ใหความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) 0 วาหมายถึง
การพัฒนาที่สนองตอบตอความตองการของคนในรุนปจจุบัน โดยไมทําใหคนในรุนอนาคตตองประนีประนอม
ยอมลดทอนความสามารถในการที่จะตอบสนองความตองการของตนเอง
ดังนั้น การใชทรัพยากรในการพัฒนาประเทศตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนจะตองสนองตอบ
ความตองการของคนในรุนปจจุบัน (The Present Generation) อีกทั้งยังตองไมสรางผลกระทบตอคนรุนตอไป
(The Future Generation)
1
Sustainable development is development that meets the needs of the present without compromising
the ability of future generations to meet their own needs" (WCED, 1987) ประเทศไทยไดนําแนวคิดของ
การพัฒนาที่ยั่งยืนเขามาเปนกระแสหลักของการพัฒนาประเทศ ตั้งแตป พ.ศ. 2535 หลังจากที่เขารวมการประชุม
สหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and
Development : UNCED) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล (Rio Earth Summit)