Page 72 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 72
พัฒนาและนักลงทุนในโครงการ “ต้องไม่ทำาให้เกิดมลภาวะ ร่วมพัฒนาโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายจึงต้อง
ต่อสิ่งแวดล้อมและมลพิษทางอากาศอันเป็นผลเนื่องมา แสดงให้เห็นอย่างน่าพอใจว่า จะสามารถหลีกเลี่ยงผลก
จากการดำาเนินงานในเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย” พระราช ระทบที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งมีความร้ายแรงและมีผลระยะยาว
50
บัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. 2557 ฉบับใหม่กําหนดให้ อันเนื่องมาจากการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายได้
นักลงทุนต้อง “ปฏิบัติตามมาตรฐานและบรรทัดฐานในพระ
ราชบัญญัติอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของเมียนมาร์ และมาตรฐาน จำาเป็นต้องมีการปฏิรูปกฎหมายเพิ่มเติม
และบรรทัดฐานระหว่างประเทศ” ในทํานองเดียวกัน พระ การโยกย้ายและการเวนคืนที่ดินยังคงเกิดขึ้นอย่างกว้าง
ราชบัญญัติการลงทุนจากต่างประเทศในเมียนมาร์ พ.ศ. ขวางทั่วประเทศ และจําเป็นต้องมีกฎหมายในประเทศซึ่ง
2555 ห้ามการประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ส่งผลกระ ให้การคุ้มครองที่ดีขึ้นกับสิทธิการถือครองที่ดินของ
ทบต่อสิ่งแวดล้อม การไม่ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ประชาชน นอกจากนั้น กฎหมายดังกล่าวควรมีเนื้อหา
51
อย่างเพียงพอในกรณีโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย สอดคล้องกับกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ใน
จึงขัดแย้งกับอํานาจหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการโยกย้าย ข้อกําหนดการจัดให้มี
ค่อนข้างชัดเจนว่า เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายจะ อาหารและที่อยู่อาศัยอย่างเพียงพอ การคุ้มครองสิทธิคน
ส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมร้ายแรง โดยมีตัวอย่างจาก พื้นเมือง หลักการความยินยอมที่เกิดจากการแจ้งล่วงหน้า
กรณีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในประเทศไทย ในแง่ของ ความเข้าใจและเป็นไปโดยอิสระ ข้อกําหนดการจ่ายค่า
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการเขต ชดเชยที่เป็นธรรมสําหรับที่ดินที่ถูกเวนคืนโดยกําหนดเป็น
เศรษฐกิจพิเศษทวายต่อชุมชนในพื้นที่ นิคมอุตสาหกรรม ตัวบทในกฎหมาย กฎหมายดังกล่าวยังควรจัดให้มีกลไก
มาบตาพุดตั้งขึ้นเมื่อต้นทศวรรษ 2530 ที่จังหวัดระยอง ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั้งที่ผ่านศาลและไม่ผ่านศาล ซึ่งมี
บริเวณอ่าวไทย เป็นที่ตั้งของท่าเรือนํ้าลึก โรงงานบําบัด ลักษณะโปร่งใส ทั้งนี้เพื่อคลี่คลายข้อพิพาทด้านที่ดินที่
น้ําเสียและโรงงานพลาสติก ซึ่งเป็นนิคมอุตสาหกรรม เกิดขึ้น กลไกเหล่านี้ต้องเป็นอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล
ปิโตรเคมีที่ใหญ่สุดแห่งหนึ่งของโลก ผลกระทบด้านสิ่ง เมียนมาร์ และพลเมืองเมียนมาร์ทุกคนต้องสามารถเข้า
แวดล้อมและสุขภาพของนิคมแห่งนี้ร้ายแรงอย่างยิ่ง กาก ถึงได้ เกษตรกร ชุมชน รวมทั้งภาคประชาสังคมควรมี
ของเสียซึ่งเป็นพิษจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นเหตุให้ บทบาทอย่างเต็มที่และเข้มแข็งในกระบวนการปรึกษา
แหล่งนํ้าในพื้นที่ถูกทําลายโดยถาวร ทั้งแม่นํ้าลําคลอง ห้วย หารือเกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้
หนอง นํ้าฝน รวมทั้งยังทําให้ดินปนเปื้อน ในปี 2546 หลายประเทศยังคงไม่มีกฎหมายเพื่อควบคุม
52
สถาบันมะเร็งแห่งชาติของประเทศไทยพบอัตราการป่วย การลงทุนด้านอุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจ ใน
เป็นมะเร็งปากมดลูก มะเร็งต่อมหมวกไต มะเร็งทรวงอก ฐานะเป็นประเทศที่เพิ่งจะเผชิญหน้ากับปัญหาเหล่านี้
มะเร็งโพรงจมูก มะเร็งในช่องท้อง มะเร็งในลําคอ และ เมียนมาร์สามารถเรียนรู้จากบทเรียนของประเทศอื่นได้
มะเร็งในเลือดในจังหวัดระยองสูงสุดในประเทศ แม้ว่านัก ในประเทศอื่น ๆ มีการแก้ไขกฎหมายสิ่งแวดล้อมเป็นขั้น
53
กิจกรรมเชื่อว่าผู้เสียชีวิตกว่า 2,000 คนเป็นผลมาจากมลพิษ เป็นตอน หลังจากพบว่ามีปัญหาและผลกระทบด้านลบ
ของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ด้วยเหตุดังกล่าวผู้ รวมทั้งผลกระทบด้านลบที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
54
50 เนื้อหาสะท้อนสาระของมาตรา 34 ของกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย
51 พระราชบัญญัติการลงทุนจากต่างประเทศ มาตรา 4 (ก)-(ง) ระบุถึงธุรกิจทุกประเภทที่ (ก) “เป็นภัยคุกคามและส่งผลร้ายต่อวัฒนธรรมและจารีต
ประเพณีของกลุ่มเชื้อชาติในประเทศนั้น” (ข) “เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน” (ค) “เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ” และ (ง)
อุตสาหกรรมที่อันตรายต่อชุมชนหรือมีความเป็นพิษ” (และอื่น ๆ)
52 ‘Dawei: Points of concerns,’ TERRA, สิงหาคม 2555 http://www.terraper.org/mainpage/images/keysub/1348571066_th.pdf
53 ‘In Industrial Thailand, Health and Business Concerns Collide,’ The New York Times, 18 ธันวาคม 2542, http://www.nytimes.
com/2009/12/19/world/asia/19thai.html?pagewanted=1&_r=3&emc=eta1
54 ‘Toxic Thailand,’ Al Jazeera 101 East, 24 เมษายน 2553, http://www.aljazeera.com/programmes/101east/2010/04/20104219545638882.html
72