Page 68 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 68

ของตนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ  1.   หน้าที่ของรัฐในการคุ้มครองไม่ให้เกิดการปฏิบัติมิ
            ทวายในอนาคต  ก็ต้องตระหนักถึงพันธกรณีที่จะต้องเคารพ   ชอบทางสิทธิมนุษยชน  รัฐมีหน้าที่ต้องป้องกันไม่ให้
            คุ้มครอง  และปฏิบัติให้สิทธิมนุษยชนเป็นผลสําหรับประ   เกิดการปฏิบัติมิชอบทางสิทธิมนุษยชนจากบุคคลที่
            ชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการนี้  อันที่จริงพันธกรณี  สาม รวมทั้งภาคธุรกิจ
            ด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐมีขอบเขตไปพ้นจากเขตแดน     2.  ความรับผิดชอบของบรรษัทที่จะเคารพสิทธิมนุษย
            ประเทศตนเองด้วย 38                                 ชน ธุรกิจทุกแห่งจะต้องดําเนินการตรวจสอบภายใน
                                                               เพื่อหลีกเลี่ยงการปฏิบัติมิชอบทางสิทธิมนุษยชน
            ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน                              และแก้ปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้น

            สิทธิมนุษยชนไม่ใช่ปัญหาที่ต้องแก้ไขสําหรับรัฐบาล  3.  การเข้าถึงการเยียวยาที่เป็นผลของผู้เสียหาย
            เท่านั้น  ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา  มีการยอมรับมากขึ้นว่า  สําหรับผู้เสียหายจากการปฏิบัติมิชอบทางสิทธิ
            บรรษัทและนักลงทุนต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสิทธิ        มนุษยชน พวกเขาจะต้องสามารถเข้าถึงการเยียวยา
            มนุษยชนระหว่างประเทศในการตัดสินใจและการดําเนิน     ทั้งที่ผ่านศาลและกระบวนการอื่น ๆ
            งานตามโครงการด้วย หลักการชี้นําแห่งสหประชาชาติว่า
            ด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน  (UN  Guiding  Principles      รัฐบาลเมียนมาร์และรัฐบาลไทย รวมทั้งภาคธุรกิจ
            on Business and Human Rights)  เป็นผลงานการจัด   อย่างกรณีเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายย่อมหมายถึงบริษัท
                                       39
            ทําของศาสตราจารย์  John  Ruggie  ผู้แทนพิเศษของ  อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) รวมทั้งนัก
            เลขาธิการแห่งสหประชาชาติว่าด้วยประเด็นสิทธิมนุษย  ลงทุนคนอื่น ๆ ในปัจจุบันและอนาคต จึงมีความรับผิดชอบ
            ชนและบรรษัทข้ามชาติและวิสาหกิจด้านธุรกิจอื่น ๆ ทั้งนี้  ที่จะต้องคุ้มครองและเคารพสิทธิมนุษยชน รวมทั้งจัดให้มี
            เพื่อให้ครอบคลุมถึงธุรกิจและกิจกรรมของบรรษัทที่มี  การเยียวยาที่เป็นผลกรณีที่พบว่ามีผลกระทบร้ายแรง
            โครงสร้างระดับโลก  โดยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่ง   ด้านสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
            สหประชาชาติมีมติรับรองอย่างเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่
            16  มิถุนายน  2554  ถือว่าเป็นแนวปฏิบัติพื้นฐานที่ธุรกิจ  มาตรฐานระดับภูมิภาค
            และรัฐต้องปฏิบัติตาม  ทั้งนี้เพื่อลดการปฏิบัติมิชอบทาง  บทบาทของเมียนมาร์ในฐานะประธานสมาคม
            สิทธิมนุษยชนซึ่งอาจเป็นผลมาจากการลงทุนและการ     ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
            ดําเนินธุรกิจ  แนวปฏิบัติเหล่านี้ครอบคลุมมาตรฐานระหว่าง  South-East  Asian  Nations  -  ASEAN)  เป็นเหตุให้
            ประเทศซึ่งเป็นที่ยอมรับ  และเป็นแนวทางการดําเนินงาน  ประเทศนี้อยู่ในตําแหน่งผู้นําในเชิงสัญลักษณ์  และกระตุ้น
            สําหรับบรรษัทและรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาขนาน  ให้รัฐบาลเมียนมาร์เป็นตัวอย่างให้มีการตรวจสอบการ
            ใหญ่อย่างเช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย หลักการชี้นําดัง  ปฏิบัติตามมาตรฐานระดับภูมิภาคของตนอย่างจริงจัง
            กล่าวเป็นการปฏิบัติตามกรอบ “คุ้มครอง เคารพ เยียวยา”   รวมทั้งพันธกิจและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  กฎบัตร
            ที่ครอบคลุมความรับผิดชอบหลักสามประการ ได้แก่     อาเซียนซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่  20  พฤศจิกายน  2550
                                                             โดยบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียนรวมทั้งเมียนมาร์และ





            38  บทสรุปที่น่าจะเป็นประโยชน์ที่สุดเกี่ยวกับพันธกรณีทางด้านสิทธิมนุษยชนสากลที่ขยายขอบเขตนอกเหนือไปจากพรมแดนภายในรัฐ โปรดดู
            ใน  หลักการมาสทริชท์  (Maastricht  Principles)  ซึ่งเป็นผลจากการประชุมผู้เชี่ยวชาญซึ่งจัดโดย  ศูนย์สิทธิมนุษยชนมาสทริชท์  (Masstricht
            Centre of Human Rights) และคณะกรรมการนักกฎหมายระหว่างประเทศ (International Commission of Jurists) ในเดือนกันยายน 2554,
            http://www.maastrichtuniversity.nl/web/Institutes/MaastrichtCentreForHumanRights/MaastrichtETOPrinciples.htm
            39  หลักการชี้นําแห่งสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (UN Guiding Principles on Business and Human Rights) ซึ่งเห็นชอบตาม
            มติที่ 17/4 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2544 http://www.ohchr.org/Documents/Publications/Guiding_Principles BusinessHR_EN.pdf


          68
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73