Page 63 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 63
ตามสิทธิด้านอาหารได้แก่ “รัฐจะต้องไม่นํามาตรการที่ส่ง ใช้การไม่ได้โดยเป็นผลมาจากดินถล่มและการปิดกั้น
ผลในเชิงคุกคามมาใช้ อย่างเช่น มาตรการอย่างจงใจซึ่ง ลํานํ้า อันเนื่องมาจากการดําเนินงานของโครงการเขต
ส่งผลคุกคามต่อความเป็นไปได้ที่จะปฏิบัติให้สิทธิที่จะได้ เศรษฐกิจพิเศษทวาย โดยไม่มีการเยียวยาใด ๆ นอกจาก
รับอาหารเป็นผล” ในทํานองเดียวกัน รัฐจะต้องควบคุม นั้น ผู้เข้าร่วมในการสนทนากลุ่มยังเน้นว่า ในปัจจุบันการ
20
กิจกรรมของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ เข้าถึงแหล่งอาหารและทรัพยากรเพื่อการดํารงชีพเริ่ม
ส่งผลในเชิงละเมิดสิทธิด้านอาหารของบุคคลอื่น 21 ยากลําบากมากขึ้น ทั้งการใช้ประโยชน์จากป่า ทุ่งหญ้า
ดังที่ตั้งข้อสังเกตในบทที่ 2 ชาวบ้านส่วนใหญ่ใน เลี้ยงสัตว์ และการทําประมง
พื้นที่ที่ทําการศึกษาต้องพึ่งพาการเข้าถึงที่ดินเพื่อการ ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและสนับสนุนทุนให้
ดํารงชีพ โดยชาวบ้านส่วนใหญ่ประมาณ 71 เปอร์เซ็นต์ กับโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย จึงเป็นผู้ละเมิดสิทธิ
ของครัวเรือนในพื้นที่ศึกษาให้ข้อมูลว่า ประกอบอาชีพ มนุษยชนในแง่การได้รับมาตรฐานการดํารงชีพอย่าง
เกษตรกรรมเป็นหลัก ที่ดินและสิ่งแวดล้อมสร้างรายได้ เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจากมีการปิดกั้นไม่ให้เข้าถึงที่ดินทํากิน
อย่างน้อย 85 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ทั้งหมดในครัวเรือน และที่ดินอื่น ๆ โดยไม่มีมาตรการชดเชย การจัดสรรที่อยู่
ซึ่งรวมทั้งรายได้จากการเพาะปลูกในที่ดินของตนเอง การ ใหม่และการฟื้นฟูอย่างเพียงพอ เป็นเหตุให้เกิดความเสี่ยง
เลี้ยงสัตว์ การเก็บของป่า หรือการทําประมง ประมาณ 36 ต่อการดํารงชีพและช่องทางการอยู่รอดของผู้ได้รับผลก
เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนในหมู่บ้านบนพื้นที่สูงระบุว่าไม่มี ระทบ รัฐบาลจะต้องดําเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้มีการ
รายได้เป็นตัวเงิน หมายถึงว่าความอยู่รอดของครอบครัว ละเมิดสิทธิด้านอาหารสําหรับผู้ได้รับผลกระทบ
เหล่านี้ต้องพึ่งพาที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด
โดยเฉพาะในแง่ของอาหาร สิทธิการมีที่อยู่อาศัยและ
71 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนที่ทําการสํารวจได้ การคุ้มครองไม่ให้ต้องถูกบังคับโยกย้าย บทที่ 3
สูญเสีย หรือคาดว่าจะสูญเสียที่ทํากินหากโครงการเขต กฎบัตรระหว่างประเทศหลายฉบับกําหนดพันธกรณีให้รัฐ
เศรษฐกิจพิเศษทวายเกิดขึ้น บางพื้นที่ได้ถูกเวนคืนไปแล้ว ต้องงดเว้นและป้องกันไม่ให้มีการบังคับโยกย้ายทั้งที่ดิน
22
แต่ในหลายกรณี ยังไม่มีการจ่ายค่าชดเชย การจัดสรรที่ และบ้านเรือน การบังคับโยกย้ายส่งผลให้เกิดการ
อยู่ใหม่และการฟื้นฟูอย่างเพียงพอตามข้อสังเกตด้านล่าง ละเมิดอย่างร้ายแรงต่อสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นที่ยอมรับใน
ในบางพื้นที่มีการปักหลักหมุดเขตแดนเอาไว้แต่ยังไม่ ระดับสากลหลายประการ รวมทั้งสิทธิมนุษยชนที่จะได้รับ
เวนคืน เจ้าหน้าที่ได้สั่งห้ามไม่ให้เกษตรกรทํากินในที่ดิน ที่อยู่อาศัย อาหาร นํ้าอย่างเพียงพอ สิทธิด้านสุขภาพ การ
23
ดังกล่าว เป็นเหตุให้ไม่สามารถเพาะปลูกผลผลิตใหม่ ไม่ ศึกษา การทํางาน และความมั่นคงของบุคคล รัฐจะต้อง
สามารถดูแลผลผลิตเดิมที่ปลูกไว้แม้ที่ดินผืนนั้นยังอยู่ใต้ ประกันว่าจะนํามาตรการด้านกฎหมายและอื่น ๆ มาใช้
การครอบครองของตน ในพื้นที่อื่น ๆ ที่ดินทํากินอยู่ในสภาพ เพื่อให้การคุ้มครองอย่างเพียงพอ และหากจําเป็น ให้
20 สํานักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ผู้รายงานพิเศษแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิที่จะได้รับอาหาร, http://www.
ohchr.org/EN/issues/food/Pages/FoodIndex.aspx
21 UN ECOSOC, CESCR General Comment No. 12 - สิทธิที่จะได้รับอาหารอย่างเพียงพอ, UN Doc. E/C.12/1999/5 (12 พฤษภาคม 2542),
ย่อหน้า 19
22 รวมทั้งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน กติกา ICESCR (ข้อ 11(1)), อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (ข้อ 27(3)) ข้อกําหนดห้ามการเลือก
ปฏิบัติยังปรากฏอยู่ในข้อ 14(2)(h) ของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบต่อสตรี (Convention on the Elimination of All
Forms of Discrimination Against Women-CEDAW) และข้อ 5(e) ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ
ในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination-ICERD)
23 สํานักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ, http://www.ohchr.org/EN/Issues/Housing/Pages/ForcedEvictions.aspx
63