Page 68 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 68

56


                                       ข้อคิดเห็นร่วมอันส าคัญ ล าดับที่ 20 การไม่เลือกปฏิบัติในสิทธิทางเศรษฐกิจ
                                  187
               สังคม และวัฒนธรรม
                                         -  รัฐภาคีจะต้องประกันว่าไม่มีการปฏิบัติในลักษณะเลือกปฏิบัติในกิจการ
                                                                                                     188
                                            ทั้งปวงที่เกี่ยวกับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตามกติกานี้
                                         -  การเลือกปฏิบัติโดยเครื่องมือของรัฐ รัฐจะต้องพิจารณาว่าทั้งรัฐธรรมนูญ
                                            กฎหมาย และนโยบายจะต้องไม่เป็นต้นเหตุเนื่องจากข้อห้ามใดๆ เช่น
                                            กฎหมายต้องไม่ปฏิเสธสิทธิในสวัสดิการของสตรีอันเนื่องจากสถานภาพ
                                                 189
                                            สมรส
                                         -  รัฐภาคีต้องมีมาตรการในทันทีเพื่อปูองกัน ลด และขจัดเงื่อนไขและทัศนคติ
                                            ที่ท าให้การเลือกปฏิบัติใดด าเนินไปอย่างไม่หายไป เช่น การจัดการเกี่ยวกับ
                                            ที่อยู่อาศัย น้ า สุขาภิบาล จะช่วยลดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีและเด็กหญิงที่
                                                                                                    190
                                            อยู่อาศัยที่ไม่ได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมายอย่างเต็มที่และในชนบท
                                         -  รัฐภาคีต้องมีมาตรการต่างๆ รวมถึงด้านนิติบัญญัติ เพื่อประกันสิทธิของ
                                                                                       191
                                            บุคคลและตัวตนในบริบทส่วนตัวจากการเลือกปฏิบัติ

               3.2 การก าหนดข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย

                     การศึกษาสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายในประเทศจะช่วยให้เข้าใจปัญหาสิทธิมนุษยชนที่จ าเพาะ
               เจาะจงของประเทศไทยได้ ซึ่งจะช่วยเน้นความส าคัญในการให้น้ าหนักกับตัวชี้วัดเกี่ยวกับสิทธิด้านนั้น


                     คณะผู้ศึกษาได้ใช้ “รายงานการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย”  ที่รัฐบาลได้
               จัดท าขึ้นเพื่อเสนอต่อองค์กรที่มีหน้าที่ตรวจสอบสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน

                       รายงานตามกระบวนการการประเมินสถานการณ์ทั่วไปของสิทธิมนุษยชนตามวาระ (UPR)
                       รายงานการปฏิบัติตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR

                        Initial Report)

                     รายงานอื่นๆ


                     เพื่อให้ได้ตัวชี้วัดที่สะท้อนปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะของประเทศไทย คณะผู้ศึกษายังได้ใช้ข้อมูลจาก
               รายงานเหล่านี้ประกอบ






               187   Committee on Economic, Social and Cultural Rights, General Comment No. 20  : Non-discrimination in
                  economic, social and cultural rights (art. 2, para. 2): 2/7/2009
               188
                   ibid. para. 7
               189
                   ibid. para. 8
               190
                   ibid. para. 8
               191   ibid. para. 11
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73