Page 65 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 65
53
เชิงรุกเพื่อเพิ่มความสามารถของประชาชนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก
160
ทรัพยากร และวิถีทางสู่ความเป็นอยู่ที่ดี รวมทั้งความมั่นคงทางอาหาร
- รัฐภาคีจะต้องไม่มีมาตรการใดอันขัดขวางการเข้าถึงสิทธิเรื่องมีอาหารอย่าง
161
เพียงพอ
- รัฐภาคีต้องคุ้มครองบุคคลจากการกระท าของบุคคลหรือองค์กรในลักษณะ
162
ท าให้เสื่อมเสียในสิทธินี้
- พันธกรณีในด้านเติมเต็มสิทธินี้ก าหนดให้รัฐต้องด าเนินการแบบเชิงรุกเพื่อ
สร้างพลังของบุคคลในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในทรัพยากรและอันจะ
163
ประกันความมั่นคงในอาหาร และความเป็นอยู่ที่เป็นปกติสุข
- การละเมิดสิทธิในด้านอาหารอาจเกิดขึ้นได้โดยการกระท าของรัฐโดยตรง
164
หรือโดยองค์กรอื่นๆ ที่รัฐไม่ได้ควบคุมก ากับเท่าที่ควร
- รัฐภาคีจะต้องด าเนินการทุกอย่างเพื่อเป็นหลักประกันว่าทุกคนในประเทศ
ไม่ประสบกับความอดอยากหิวโหย และพึงได้รับสิทธิในด้านอาหารอย่าง
165
เพียงพอโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
- การก าหนดและด าเนินยุทธศาสตร์แห่งชาติเกี่ยวกับสิทธิด้านอาหารจะต้องมี
ความสอดคล้องอย่างเต็มที่กับหลักการว่าด้วยความรับผิดชอบที่ตรวจสอบ
166
ได้ ความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของประชาชน การกระจายอ านาจ
- ยุทธศาสตร์ดังกล่าวควรชี้ประเด็นและมาตรการส าคัญต่างๆ เกี่ยวกับระบบ
อาหารในทุกแง่มุม รวมทั้งการผลิต การแปรรูป การจ าหน่าย การตลาด
และการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ตลอดจนมาตรการร่วมในด้านอนามัย
167
การศึกษา การจ้างงาน และความมั่นคงทางสังคม
- รัฐภาคีจักต้องด าเนินตามขั้นตอนตามความเหมาะสมให้ภาคธุรกิจและ
168
ประชาสังคมปฏิบัติให้สอดคล้องกับบทบัญญัติเรื่องสิทธิในอาหาร
- รัฐภาคีจักต้องพัฒนากลไกติดตามความก้าวหน้าของการส่งเสริมคุ้มครอง
สิทธิในอาหาร โดยให้ความส าคัญในการค้นหาเหตุที่เป็นอุปสรรคในการ
ปฏิบัติตามพันธกรณีในข้อนี้ รวมทั้งการออกมาตรการทางกฎหมายและ
169
บริหารเพื่อแก้ไขเหตุเหล่านี้
160
ibid. para. 15
161
ibid. para. 15
162
ibid. para. 15
163 ibid. para. 15
164 ibid. para. 19
165 ibid. para. 21
166
ibid. para. 23
167
ibid. para. 25
168
ibid. para. 27
169 ibid. para. 31