Page 118 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 118

102


                                    ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Cluster)

                                    ด้านอ านาจ (หรือพลัง) ทางการเมือง (Political Power Cluster)
                                    ด้านความมั่นคงปลอดภัยและสิทธิมนุษยชน (Security  and  Human  Rights

                                      Cluster)

                                   ในแต่ละด้านจะพิจารณาสัมพันธ์กับ MDGs  ทั้งแปดเปูาหมาย (ดังกล่าวข้างต้น) แล้ว
                                                                                   229
               จึงก าหนดเป็นตัวชี้วัด เพื่อการประเมินว่ามีการบรรลุเปูาหมายที่ก าหนดไว้หรือไม่  ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง
               การก าหนดตัวชี้วัดของด้านที่ห้า หรือ ด้านความมั่นคงปลอดภัยและสิทธิมนุษยชน (Security  and  Human
               Rights Cluster) ที่คณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศ ได้ก าหนดไว้ดังข้างล่างนี้

                                   ตารางที่ 8 ตัวอย่างตัวชี้วัดด้านความมั่นคงปลอดภัยและสิทธิมนุษยชน (Security

               and Human Rights Cluster) ของคณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
                     5.1 ความรุนแรงที่มีสาเหตุมาจากเพศสภาพ (Gender-Based Violence) และสิทธิมนุษยชน
               เปูาหมาย: ลดคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงต่อสตรี  หน่วยงานที่รับผิดชอบในการด าเนิงานตามแผน:

               และเด็กหญิงลง 5% ต่อปี จนกระทั่งหมดไป     กรมพัฒนาการยุติธรรมและรัฐธรรมนูญ (Department
                                                           of Justice and Constitutional Development)

                                                         ส านักงานอัยการแห่งชาติ (National Prosecuting Authority)
                                                         กรมกิจการคุมประพฤติ (Department  of  Correction
                                                           Services)

                                                         กรมการพัฒนาสังคม   (Department  of  Social
                                                           Development)

                                                         กรมสุขอนามัย (Department of Health)
                                   ตัวชี้วัด            ข้อมูล / สถิติที่ได้รวบรวมจากทุกมลฑล (Provinces)

                 จ านวนคดีความรุนแรงต่อสตรีที่มีการ    แยกข้อมูลตามประเภทของความรุนแรงต่อสตรี
                   น าเสนอต่อเจ้าหน้าที่ต ารวจ            คดีข่มขืนกระท าช าเรา
                 จ านวนและ/หรือสัดส่วนของคดีที่มีการ     คดีความรุนแรงในครอบครัว

                   น าไปฟูองด าเนินคดีในศาล               คดีเกี่ยวกับการค้าหญิงและเด็กหญิง
                 จ านวนผู้กระท าละเมิดที่ถูกศาลพิพากษา    การปฏิบัติตามวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดอันตราย (Harmful

                   ลงโทษจ าคุกและระยะเวลาของการจ าคุก       Cultural Practices)
                   ตามค าพิพากษาแยกระดับโทษจ าคุกเป็น       -  การทดสอบการเป็น “สาวบริสุทธิ์”
                   -  ต่ ากว่า 10 ปี                        -  การเฉือนท าลายอวัยวะเพศของสตรี
                   -  10 ปี – 15 ปี                         -  การบังคับให้สะใภ้มีเพศสัมพันธ์กับพ่อของสามี
                   -  กว่า 15 ปี – 20 ปี                    -  การบังคับให้หญิงหม้ายสมรสกับญาติฝุายสามี

                   -  กว่า 20 ปี – 25 ปี                    -  การลักพาตัวเด็กหญิงไปเพื่อบังคับให้แต่งงาน



               229
                   South African Commission on Gender Equality, A Gender Review of South Africa’s Implementation of
               Millennium Development Goals, (Pretoria: Commission on Gender Equality, 2010)
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123