Page 117 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 117

101


               Declaration) เพื่อตั้งเปูาหมายส าหรับการพัฒนาในช่วงระยะเวลาสิบห้าปีที่ทุกประเทศจะต้องบรรลุให้ได้
               ภายใน ค.ศ.2015 (พ.ศ.2558) เปูาหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษแต่ละเปูาหมายได้ก าหนดวัตถุประสงค์และ

               ตัวชี้วัดที่แน่นอนเช่น การขจัดความยากจน จะวัดได้จากจ านวนสัดส่วนของประชากรที่มีรายได้ต่ ากว่า
               วันละ 1 ดอลลอร์สหรัฐฯ และอัตราส่วนของช่องว่างความยากจน เปูาหมายความเท่าเทียมกันทางเพศ จะวัด
               ได้จากอัตราการรู้หนังสือระหว่างชาย/หญิง จ านวนของชายและหญิงที่ได้รับการศึกษา อัตราการจ้างงาน และ
                                        228
               จ านวนผู้แทนในรัฐสภาเป็นต้น  (รายละเอียดดูในภาคผนวกที่ 5.) เปูาหมายทั้งแปดเปูาหมายมีดังนี้

                                   เป้าหมายที่หนึ่ง  : ขจัดความยากจนและความหิวโหย
                                   เป้าหมายที่สอง  : ให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา
                                   เป้าหมายที่สาม  : ส่งเสริมบทบาทสตรีและความเท่าเทียมกันทางเพศ

                                   เป้าหมายที่สี่   : ลดอัตราการตายของเด็ก
                                   เป้าหมายที่ห้า  : พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ์
                                   เป้าหมายที่หก  : ต่อสู้โรคเอดส์ มาเลเรีย และโรคส าคัญอื่นๆ
                                   เป้าหมายที่เจ็ด  : รักษาและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

                                   เป้าหมายที่แปด  : ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาในประชาคมโลก

                                   4.2.2.5 การพัฒนาตัวชี้วัดความเท่าเทียมทางเพศโดยคณะกรรมาธิการความเท่า

               เทียมทางเพศ

                                   คณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศ (Commission  on  Gender  Equality)
               เป็นองค์กรอิสระจัดตั้งขึ้นตามมาตรา 187 ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ (Constitution  Act
               1996)  มีอ านาจหน้าที่ในการส่งเสริมและพัฒนาความเสมอภาคทางเพศให้เกิดขึ้นในประเทศ อ านาจหน้าที่

               ส าคัญประการหนึ่งคือการติดตามตรวจสอบการด าเนินงานของรัฐตามพันธกรณีระหว่างประเทศตามอนุสัญญา
               ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี (CEDAW) และสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนอื่นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อ
               สตรี ที่สาธารณรัฐแอฟริกาใต้เป็นภาคี ในการด าเนินงานประเมินการปฏิบัติตามพันธกรณีของรัฐบาล

               คณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศ ได้ใช้ดรรชนีเพศสภาพและการพัฒนา (African  Gender  and
               Development  Index  :  AGDI)  ซึ่งได้พัฒนาขึ้นโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United  Nations
               Development Programme: UNDP) และได้น ามาใช้ในประเทศในทวีปแอฟริกาหลายประเทศ


                                     คณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศได้ใช้กรอบ MDGs  ในการประเมินติดตาม
               การปฏิบัติตามอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี โดยการปรับ MDGs  ให้ใช้ในบริบทเกี่ยวกับ
               การเลือกปฏิบัติทางเพศ โดยก าหนดกรอบความเท่าเทียมทางเพศ และการพัฒนาสถานภาพของสตรี ห้าด้าน
               (Cluster) คือ

                                    ด้านเศรษฐกิจ (Economic Cluster)
                                    ด้านสังคม (Social Cluster)




               228
                   United Nations Statistics Division “About the Millennium Development Goals Indicators”,[online] Available at
               http://millenniumindicators.un.org/unsd/mdg/Host.aspx?Content=Indicators/About.htm,   (13 January 2013)
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122