Page 121 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 121

105


               สังคมแห่งชาติ กสมฟ. และหน่วยงานของสหประชาชาติ และองค์การระหว่างประเทศ อาทิ เช่น UNDP,
               UNFPA, UNICEF, UNIFEM, UNAIDS, WHO, ILO เป็นต้น


                                     ในที่นี้ จึงขอน าเกณฑ์ชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
               แห่งชาติของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ที่เกิดขึ้นอันเป็นผลจากกฎหมายสิทธิมนุษยชน และสนธิสัญญาระหว่าง
                                                        231
               ประเทศ มาเสนอพอสังเขปดังตารางข้างล่างนี้ดังนี้

               ตารางที่  9  กรอบการพัฒนาเกณฑ์ชี้วัดสิทธิมนุษยชนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ของ
               สาธารณรัฐฟิลิปปินส์


                 ตราสารระหว่าง               เนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนา  เพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                    ประเทศ
               UDHR                การส่งเสริมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และคุณค่าของบุคคล

                                   สิทธิมนุษยชน และความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิต่างๆ

                                   หลักการไม่เลือกปฏิบัติ ความเสมอภาค ความพร้อมรับผิด  และการมีส่วนร่วมของ
                                     ประชาชน
                                   ส่งเสริมความก้าวหน้าของสังคม และมาตรฐานชีวิตที่ดีกว่า

                                   ให้หลักประกันการยอมรับความเป็นสากลของสิทธิมนุษยชน และประสิทธิภาพใน
                                     การยึดถือหลักการสิทธิมนุษยชนทั้งปวง ด้วยความพยายามระดับชาติ และความ
                                     ร่วมมือในระดับสากล

                                   เสริมสร้างระเบียบสังคมและสากลที่สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพจะได้รับการปฏิบัติ
                                     อย่างเต็มที่

                                   ใช้สิทธิมนุษยชนด้วยความรับผิดชอบ
                                   ข้อจ ากัดใดๆ ของสิทธิใดๆ ที่ได้รับการคุ้มครองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ
                                     มนุษยชน จะต้องสอดคล้องกับสิ่งที่ด ารงอยู่จริง

               ปฏิญญาสิทธิใน       ความอยู่ดีกินดีของประชากรที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
               การพัฒนา              กระตือรือร้น ความเป็นอิสระ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างมีความหมาย
                                     และผลประโยชน์ต่างๆ ที่ได้รับนั้น มีการกระจายอย่างเป็นธรรม

                                   ขจัดปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา

                                   รับรอง และยอมรับยุทธศาสตร์ที่มีการบูรณาการกับสิทธิมิอาจแบ่งแยกได้ มีความ
                                     กระชับ ประชาชนมีส่วนร่วม และไม่มีการเลือกปฏิบัติ ซึ่งจะน าไปสู่การที่มนุษย์เป็น
                                     เปูาหมายหลัก และเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากการพัฒนา

                                   ขจัดปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลาย และแพร่กระจาย
                                     อย่างกว้างขวาง
                                   ส่งเสริมการเคารพในสิทธิมนุษยชน



               231     ibid.
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126