Page 78 - รายงานฉบับสมบูรณ์ นโยบายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชายแดนไทย-พม่า : กรณีผู้อพยพจากภัยสงคราม
P. 78

๖๙
                                       รายงานศึกษาวิจัย “นโยบายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชายแดนไทย – พม่า : กรณีผู้อพยพจากภัยสงคราม”




                  ที่สถานีต ารวจได้ ส่วนกฎหมายระหว่างประเทศ อนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย และอนุสัญญาว่า

                  ด้วยสิทธิลี้ภัยชายแดนที่ผู้ร้องอ้าง หากมีจริงก็หามีข้อบังคับยกเว้นกฎหมายของประเทศไทยไม่”



                         หมายความว่ากฎหมายระหว่างประเทศไม่สามารถบังคับใช้ในศาลไทย เข้าใจว่า ณ วันนี้ค า

                  พิพากษาของศาลยังคงแนวทางเดิมอยู่ คือ ไม่เปลี่ยนแปลง ตรงนี้ก็มาโยงกับข้อเสนอแนะในรายงานการ

                  วิจัยข้อที่ ๑๒ ถ้าส านักงานตรวจคนเข้าเมืองยังส่งคดีฟ้ องต่อศาล ค าพิพากษาก็ออกมาเหมือนเดิม ดังนั้น

                  แนวทางการแก้ไขในมิติทางกฎหมายก็คือ



                         ๑) เจ้าหน้าที่ต ารวจ


                         ๒) อัยการ



                         ๓) ศาล


                         ในการส่งฟ้ องคดีต่อศาล ถ้าเราจะแก้การส่งฟ้ องต่อศาล หรือต่อส านักงานตรวจคนเข้าเมือง

                  น่าจะเพิ่มเติมเสนอประเด็นนี้ต่อส านักงานอัยการสูงสุดด้วย เพราะว่าเป็นกระบวนการล าดับที่ ๒  ถ้า ๒

                  องค์กรนี้ไม่ใช้ดุลยพินิจในทางบวกที่ไม่ส่งฟ้ องคดีต่อศาลข้ อหาที่เกี่ยวข้องกับหลบหนีเข้าเมือง


                  ตัวผู้ต้องหา หรือ จ าเลย ที่เป็นผู้ลี้ภัยก็ใช้ดุลยพินิจในทางบวกที่ไม่ส่งฟ้ องคดีต่อศาล หากแก้ในเชิงของ

                  ศาลอาจจะแก้ยาก แต่ถ้าเราแก้ในเชิงของกระบวนการแรก คือ ต ารวจ กระบวนการที่ ๒  คือ ส านักงาน

                  อัยการสูงสุดก็เป็นเรื่องที่น่าจะง่ายกว่า


                         เข้าใจว่ากฎหมายเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งข้อเสนอแนะที่ให้แต่ละ


                  หน่วยงานปรับ โดยเฉพาะเรื่องกฎหมายอาจจะเป็นเรื่องยาก แต่เรื่องนโยบายแก้ง่ายกว่า เพราะสามารถ

                  ออกได้เลย ดังนั้นควรเริ่มที่นโยบายก่อนค่อยแก้กฎหมาย  แต่ถ้าบัญญัติไว้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญจะ

                  สามารถก าหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่ด าเนินการให้การคุ้มครองเรื่องสิทธิในประเทศไทยได้ดีกว่า

                  โดยให้มีอ านาจหน้าที่ด าเนินการได้ตามกฎหมายนั้น ๆ ควรบัญญัติเป็นตัวกลางไว้ คือ หน่วยงานของรัฐ

                  ทุกหน่วยงานสามารถใช้ดุลยพินิจทางบวกได้ โดยทุกคนยอมรับ ซึ่งอาจต้องไปศึกษา และท านิยามเรื่อง


                  “ดุลยพินิจในทางบวกเรื่องการคุ้มครองสิทธิ” ให้ชัดเจนขึ้น
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83