Page 82 - รายงานฉบับสมบูรณ์ นโยบายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชายแดนไทย-พม่า : กรณีผู้อพยพจากภัยสงคราม
P. 82

๗๓
                                       รายงานศึกษาวิจัย “นโยบายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชายแดนไทย – พม่า : กรณีผู้อพยพจากภัยสงคราม”




                         นายสุริยันต์  ทองหนูเอียด  อนุกรรมการด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กล่าวว่า

                  โดยรวมแล้วแม้ว่าประเทศไทยยังไม่ได้เป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ค.ศ. ๑๙๕๑ อย่างที่เรา

                  อยากให้ด าเนินการ แต่ว่ารัฐบาลไทยก็น่าจะเป็นมืออาชีพเรื่องการรองรับผู้ลี้ภัย อย่างแม่สอดที่เราลงพื้นที่

                  เรื่องกลไกการท างานร่วมกันระหว่างราชการ ภาคเอกชน UN NGOs ไทยหรือพม่า อันนี้ไม่มีกลไกที่ชัดเจน


                  ซึ่งถ้ามีตรงนี้ก็จะช่วยสร้างหลักประกันบางเรื่อง เช่น การประเมินสถานการณ์ที่แตกต่างกัน รัฐอาจจะมอง

                  ว่าปลอดภัยแล้วและก็ส่งกลับได้ แต่ภาคเอกชนมองว่ายังไม่ปลอดภัย ความปลอดภัยของรัฐกับความ

                  ปลอดภัยของภาคเอกชนไม่เหมือนกัน ซึ่งน่าจะมีเครื่องมือ โดยใส่เป็นข้อเสนอแนะในรายงาน


                         นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงษ์  อนุกรรมกาด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กล่าวสรุป


                  ๓ ประเด็น คือ


                         ประเด็นแรก เรื่องการใช้ค าไม่ว่าจะเป็น “ผู้ลี้ภัย” หรือ “ผู้หนีภัย” จากการสู้รบ ก็ไม่ส าคัญเท่ากับ

                  นโยบายของรัฐว่าดูแลเขาในฐานะที่เป็นมนุษย์หรือเปล่า



                         ประเด็นที่สอง ถึงแม้ว่าประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบันในเรื่องอนุสัญญาผู้ลี้ภัย แต่ประเทศไทยก็

                  ให้สัตยาบัน มีพันธกรณีกับอนุสัญญาระหว่างประเทศ ๔  ฉบับส าคัญ (ไม่รวมผู้หญิง และเด็ก) คือ

                  ๑) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง ๒) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ

                  ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ๓) อนุสัญญาว่าด้วยขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และ

                  ๔) อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน ซึ่งทั้ง ๔  ฉบับนี้มีประเด็นที่สัมพันธ์และสอดคล้องกัน คิดว่าในฐานะที่


                  รัฐบาลไทยมีพันธะกรณีอย่างน้อย ๔  ฉบับตรงนี้ก็ต้องเอาประเด็นต่าง ๆ มาบูรณาการให้ไปด้วยกัน

                  ถ้ารัฐบาลมุ่งมั่นปฏิบัติตามพันธะกรณีน ามาก าหนดเป็นนโยบาย รวมทั้งเรื่องข้อปฏิบัติซึ่งไปไกลกว่าสิ่งที่

                  ระบุไว้ในสัญญาผู้ลี้ภัย


                         ประเด็นที่สาม คือ มีเนื้อหาสาระส าคัญบางส่วนที่ได้ระบุไว้แล้วในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                  ตอนนี้ก าลังใช้ฉบับที่ ๒ ซึ่งฉบับที่ ๑ อนุมัติเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๓ ผ่านไป ๕ ปีก็ไม่ได้ท าอะไร จนมาฉบับที่ ๒

                  ผ่านมาแล้ว ๒-๓ ปี ก็ดูเหมือนว่ายังไม่มีอะไร และตอนนี้ก าลังจะร่างฉบับที่ ๓ ตรงนี้ถ้าลงไปศึกษาดูดี ๆ

                  คิดว่าประเด็นสาระส าคัญที่จะต้องดูแลผู้ที่หลบหนีภัยสงครามเข้ามามันก็ได้ เป็นสิ่งที่ต้องคิดค านึง โดย

                  ขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการส่วนต่าง ๆ เอาเอกสารทั้ง ๔ ฉบับ รวมทั้งแผนสิทธิมนุษยชน
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87