Page 50 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 50

กระท าการ หรือยอมรับการกระท าอย่างหนึ่งอย่างใดมิชอบแต่ไม่รวมถึงการกระท า

                       โดยประมาท”


                       ซึ่งท ำให้ช่องทำงในกำรท ำควำมรุนแรงและกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ใน

               ครอบครัวผ่ำนทำง “ประมำท” “ไม่ได้มุ่งประสงค์” และ “กระท ำโดยไม่เจตนำ” ได้ และเช่นเดียวกับ พ.ร.บ.

               อื่นๆ ข้ำงต้น พ.ร.บ. ฉบับนี้มองข้ำมประเด็นสิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใดที่ คนทุก

               คนมีสิทธิพื้นฐำนที่จะตัดสินใจอย่ำงอิสระและรับผิดชอบในเรื่องกำรมีบุตร ว่ำจะมีกี่คน ห่ำงกันกี่ปี และจะมี
               เมื่อไร ทั้งนี้ ต้องได้รับข้อมูลและวิธีกำรที่จะสำมำรถท ำตำมที่ตัดสินใจได้

                       อย่ำงไรก็ตำม พ.ร.บ. ฉบับนี้ สอดคล้องเป็นกำรคุ้มครองสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำม

               เป็นมนุษย์ (Rights to  Life) และ สิทธิในควำมเป็นส่วนตัว  (Rights  to  Privacy) ซึ่งกำรเก็บควำมลับของ

               เยำวชนเพื่อไม่ให้เกิดควำมเสียหำย อันตรำยแก่จิตใจ ในกรณีที่เยำวชนตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม ซึ่งจะรักษำ
               หรือยุติกำรตั้งครรภ์หรือไม่ก็ตำม



                     พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (๒๕๕๐)

                       ระบุไว้อย่ำงชัดเจน พ.ร.บ. ว่ำค ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยำวชนเป็นหลักตำม หมวดที่ ๑

               ว่ำด้วยบททั่วไป มำตรำที่ ๖.๑ ที่ว่ำ
                              “การพัฒนาเด็กและเยาวชน การบังคับใช้และการปฏิบัติตามบทบัญญัติใดๆ

                       แห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน  ต้องค านึงถึง

                       ประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นอันดับแรก”


               แต่ถึงกระนั้น พ.ร.บ. นี้ ถูกน ำมำใช้เพื่อจัดตั้งองค์กร หน่วยงำนส ำหรับเด็กและเยำวชน โดยเด็กและเยำวชน

               เอง คือ “สภำเด็กและเยำวชน” บทบำทหน้ำที่ กำรคัดสรรบุคลำกร สมำชิก ประธำน ตัวแทนเยำวชน

               มำกกว่ำจะอธิบำยหรือมุ่งบังคับใช้กฎหมำยเพื่อส่งเสริมกำรพัฒนำเด็กและเยำวชน อย่ำงไรก็ตำม พ.ร.บ.
               ได้นิยำมควำมหมำยของเด็กและเยำวชนไว้อย่ำงชัดเจนว่ำ “เด็ก”  หมำยถึงบุคคลซึ่งมีอำยุต ่ำกว่ำ ๑๘ ป ี

               บริบูรณ์ ขณะที่ “เยำวชน” หมำยถึงบุคคลซึ่งมีอำยุตั้งแต่ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ถึง ๒๕ ปีบริบูรณ์ ตำมมำตรำ ๔

               และคุ้มครองสิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ (Rights to Information and Education) ด้วย

               หมวดที่ ๑ ว่ำด้วยบททั่วไป  มำตรำ ๖.๒ เด็กและเยำวชนทุกคนมีสิทธิในกำรได้รับกำรศึกษำ  และได้รับ
               กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนที่มีคุณภำพสูงสุดตำมที่ก ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ

                       อย่ำงไรก็ตำม พ.ร.บ.นี้ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ชัดเจนต่อกำรคุ้มครอง กำรป้ องกันกำรละเมิดสิทธิ

               อนำมัยเจริญพันธุ์ในประเด็น สิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด (Rights  to  Decide

               Whether or When to Have Children or Rights to Self-determination) และ สิทธิในกำรดูแลและป้ องกัน





                                                                                                       ๔๙
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55