Page 54 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 54
“...ความผิดฐานประกอบโรคศิลปะโดยมิได้ขึ้นทะเบียนและ
รับใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ ฯ”
และ
“...ความผิดฐานร่วมกันมีเพนตาโซซีนกับไดอาซีแพมไว้ใน
ครอบครองโดยไม่ได้รับใบอนุญาตกับฐานร่วมกันใช้ประโยชน์ซึ่งเพน
ตาโซซีนกับไดอาซีแพมโดยไม่ได้รับใบอนุญาต…”
(ไทยจัดจ์, ๒๕๕๕)
ซึ่งจำกค ำพิพำกษำของศำลชั้นต้นเผยให้เห็นว่ำ ไม่เพียงจ ำเลยผิดกฎหมำยอำญำฐำนที่ท ำแท้ง
แล้ว จ ำเลยยังมีควำมผิดตำมกฎหมำยอื่นๆ นอกเหนือจำกกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับอนำมัยเจริญพันธุ์ เช่น
พ.ร.บ. สถำนพยำบำล พ.ศ. ๒๕๔๑, พ.ร.บ. กำรประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒, พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตและประสำท พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งเป็นควำมผิดหลำยกรรมต่ำงกัน และศำลชั้นต้นให้ลงโทษทุกกรรมเป็น
กระทงควำมผิด ดังนั้นในกำรลงโทษผู้ที่กระท ำแท้งยุติกำรตั้งครรภ์ไม่เพียงรับบทลงโทษเฉพำะกำรท ำแท้ง
แต่ยังต้องรับบทลงโทษอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
ข้อบังคับแพทยสภา
ในประเด็นกำรท ำแท้ง ตำมประมวลกฏหมำยอำญำ มำตรำ ๓๐๑-๓๐๕ มีควำมเกี่ยวเนื่องกับ
ข้อบังคับแพทยสภำ โดยตรง เพรำะไม่เพียงให้อ ำนำจในกำรตัดสินใจของแพทย์ในกำรท ำแท้ง ยังให้อ ำนำจ
แพทย์ให้เป็นผู้ท ำแท้งแก่เยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งคณะกรรมกำรแพทยสภำออกข อบังคับหรือ “ข อบัง
คับแพทยสภำ ว ำด วยหลักเกณฑ กำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรยุติกำรตั้งครรภ ทำงกำรแพทย์ตำม
มำตรำ ๓๐๕ แห ง ประมวลกฎหมำยอำญำ พ.ศ. ๒๕๔๘” ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ สิทธิ
มนุษยชนของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ดังนี้
“ข อ ๓ การยุติการตั้งครรภ ทางการแพทย ตามาตรา ๓๐๕ แห
งประมวลกฎหมายอาญานั้น จะกระท าได เมื่อหญิงมีครรภ นั้นยินยอม
ข อ ๔ แพทย ผู กระท าการยุติการตั้งครรภ ทางการแพทย
ตามข อบังคับนี้ ต องเป นผู ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย
ข อ ๕ การยุติการตั้งครรภ ทางการแพทย ตามมาตรา ๓๐๕ (๑)
แห่งประมวลกฎหมายอาญาให เป นไปตามเงื่อนไข ดังนี้
(๑) เป นกรณีที่จ าเป นต องกระท าเนื่องจากป ญหาสุขภาพทาง
กายของหญิงมีครรภ หรือ
๕๓