Page 48 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 48

มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กจะยินยอม

                       หรือไม่ ห้ามมิให้ผู้ใดกระท าการ ดังต่อไปนี้
                              (๑) กระท าหรือละเว้นการกระท าอันเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือ

                       จิตใจของเด็ก

                              (๒) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งจ าเป็นแก่การด ารงชีวิตหรือการรักษาพยาบาล

                       แก่เด็กที่อยู่ในความดูแลของตน จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
                              (๓) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควร

                       หรือน่าจะท าให้เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต่อการกระท าผิด

                              (๖) ใช้ จ้าง หรือวานเด็กให้ท างานหรือกระท าการอันอาจเป็นอันตรายแก่
                       ร่างกายหรือจิตใจมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต หรือขัดขวางต่อพัฒนาการของเด็ก

                              (๗) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือให้

                       กระท าการใด เพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการค้าอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางต่อการ

                       เจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็กหรือมีลักษณะเป็นการทารุณกรรมต่อเด็ก”


                    เนื่องจำก พ.ร.บ. ฉบับนี้มุ่งคุ้มครองเด็กไม่ให้ตกอยู่ในอันตรำย ดังนั้นเมื่อเยำวชนตั้งครรภ์และ

               ตัดสินใจด ำรงครรภ์ต่อแต่ไม่สำมำรถเลี้ยงดูทำรกได้หลังคลอด  เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องตำม พ.ร.บ.

               จะต้องเข้ำมำด ำเนินกำรคุ้มครองและสงเครำะห์ทำรกที่เกิดมำจำกเยำวชนที่เป็นแม่ ดังนี้
                              “มาตรา ๒๘ ในกรณีผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู

                       อบรมสั่งสอนและพัฒนาเด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด หรือผู้ปกครองกระท าการใดอันน่าจะ

                       เกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพหรือขัดขวางต่อความเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก

                       หรือให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบ หรือมีเหตุจ าเป็นอื่นใดเพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์
                       หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กหรือป้ องกันมิให้เด็กได้รับอันตรายหรือถูกเลือกปฏิบัติโดย

                       ไม่เป็นธรรม พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องด าเนินการให้การสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพ

                       ตามพระราชบัญญัตินี้”
                       มำตรำดังกล่ำวไม่เพียงเป็นกำรคุ้มครองเด็กทำรกที่เกิดมำ แต่ยังช่วยเหลือคุ้มครองสิทธิอนำมัย

               เจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ ในสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ ไม่ตกอยู่ใน

               อันตรำย  เสรีธรรมและในควำมมั่นคงแห่งร่ำงกำย ไม่ถูกกระท ำกำรเลือกปฏิบัติ บังคับ หรือใช้ควำมรุนแรง

               เช่นเดียวกับในกรณีที่แม่ไม่สำมำรถเลี้ยงลูกได้เนื่องจำกปัจจัยต่ำงๆ ซึ่งอำจเป็นเศรษฐกิจ ครอบครัว

               กำรศึกษำ สุขภำพทั้งกำยและใจ หรือเหตุผลส่วนบุคคลต่ำงๆ แต่ไม่ต้องกำรยุติกำรตั้งครรภ์ แต่เพื่อเป็นกำร
               คุ้มครองสิทธิเด็กและสิทธิของแม่เองที่จะได้รับกำรบริกำรด้ำนอนำมัยเจริญพันธุ์ ซึ่งเป็นสิทธิในกำรดูแล









                                                                                                       ๔๗
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53