Page 46 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 46
สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้
ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกัน หรือต่าง
รูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจาก
การเรียนรู้นอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การท างาน”
มำกไปกว่ำนั้น ในหมวดที่ ๔ แนวกำรจัดกำรศึกษำ ยังก ำหนดให้สถำนศึกษำต้องจัดกำรกำรศึกษำ
ให้สอดคล้องกับส ำหรับแม่วัยรุ่น ตำม
“มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด กระบวนการจัดการ
ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ”
และ
“มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน ที่
เกี่ยวข้องด าเนินการดังต่อไปนี้
(๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ของผู้เรียน โดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
(๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการ
ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา
มาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริมการด าเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา
และนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อื่นอย่างพอเพียงและมี
ประสิทธิภาพ”
เห็นได้ชัดว่ำ พ.ร.บ. กำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้คุ้มครองสิทธิ
แม่วัยรุ่นอย่ำงรัดกุม ในประเด็นกำรเข้ำถึงควำมรู้ สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำโดยตรง
ขณะเดียวกันก็เป็นกำรคุ้มครองสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ (Rights to Life) เพรำะ
ในระบบกำรศึกษำมีกำรสอดแทรกควำมรู้เกี่ยวกับกำรใช้ชีวิต กำรได้รับบริกำร กำรปรึกษำ
พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก (๒๕๔๖)
พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก (๒๕๔๖) มุ่งเน้นกำรปกป้ อง ป้ องกัน คุ้มครอง รวมไปถึงเยียวยำ เด็กที่ถูก
ทำรุณกรรมและกำรกระท ำที่เป็ นอันตรำยต่อเด็ก ที่เป็นไปตำมสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรี
๔๕