Page 47 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 47
ควำมเป็นมนุษย์ (Rights to Life) โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง กำรละเมิดสิทธิเยำวชนที่อำยุต ่ำกว่ำ ๑๘ ปี ซึ่งพ.ร.บ.
ฉบับนี้ได้ก ำหนดนิยำมควำมหมำยของ “เด็ก” และ “ทำรุณกรรม” ไว้ดังนี้
มาตรา ๔ “ “เด็ก” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต ่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่
ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส”
“ทารุณกรรม” หมายความว่า การกระท าหรือละเว้นการกระท าด้วยประการใด ๆ
จนเป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพ หรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ การกระท า
ผิดทางเพศต่อเด็ก การใช้เด็กให้กระท าหรือประพฤติในลักษณะที่น่าจะเป็นอันตราย
แก่ร่างกายหรือจิตใจหรือขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี ทั้งนี้ ไม่ว่าเด็กจะยินยอม
หรือไม่ก็ตาม
ซึ่งใน พ.ร.บ. ได้ก ำหนดถึงกำรกระท ำและปฏิบัติเพื่อให้เด็ก ไม่ถูกละเมิดสิทธิ ได้รับควำมปลอดภัย ไม่ตก
อยู่ในอันตรำย ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ บังคับ หรือใช้ควำมรุนแรง ใน หมวดที่ ๒ การปฏิบัติต่อเด็ก
ดังนี้
“มาตรา ๒๒ การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด ให้ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของ
เด็กเป็นส าคัญและไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
มาตรา ๒๓ ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนา
เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนตาม สมควรแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีและ
วัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น แต่ทั้งนี้ต้องไม่ต ่ากว่ามาตรฐานขั้นต ่าตามที่ก าหนดใน
กฎกระทรวงและต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนมิให้
ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ”
แม้แต่ผู้ปกครองของเด็ก ตำมมำตรำที่ ๒๕ ดังนี้
“มาตรา ๒๕ ผู้ปกครองต้องไม่กระท าการ ดังต่อไปนี้
(๑) ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาลหรือไว้กับบุคคลที่
รับจ้างเลี้ยงเด็กหรือที่สาธารณะหรือสถานที่ใด โดยเจตนาที่จะไม่รับเด็กกลับคืน
(๒) ละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานที่ใด ๆ โดยไม่จัดให้มีการป้ องกันดูแลสวัสดิภาพ
หรือให้การเลี้ยงดูที่เหมาะสม
(๓) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จ าเป็นแก่การด ารงชีวิตหรือสุขภาพอนามัยจน
น่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
(๔) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือ
พัฒนาการของเด็ก
(๕) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
๔๖