Page 45 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 45
“มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมี
คุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาส าหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทาง
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกาย
พิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคล ซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อย
โอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น
พิเศษ…”
และ
“มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่
ใน ความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ...”
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนที่ตำม พ.ร.บ. “ "การศึกษาขั้นพื้นฐาน" หมายความว่า การศึกษา
ก่อนระดับอุดมศึกษา และ " “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน" หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน” ซึ่งในมำตรำ ที่ ๓ ระบบกำรศึกษำอธิบำยถึงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและกำรศึกษำภำคบังคับไว้ว่ำ
“การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่ง
ระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง” และ “มาตรา ๑๗ ให้
มีการศึกษาภาคบังคับจ านวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
จนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้
เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง”
นอกจำกนี้ในกำรจัดระบบกำรศึกษำ ยังได้แบ่งรูปแบบออกเป็น ๓ ประเภท ในหมวดที่ ๓ ดังนี้
“มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
(๑) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่ก าหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา
หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการ
ส าเร็จการศึกษาที่แน่นอน
(๒) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก าหนด
จุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและ
ประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขส าคัญของการส าเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตร
จะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่
ละกลุ่ม
(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล
ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ
๔๔