Page 43 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 43

CEDAW)  ท ำให้แต่ละประเทศด ำเนินนโยบำยในกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงให้สอดคล้องกับ

               อนุสัญญำ เช่น An Act for the Magna Carta of Women ของประเทศฟิลิปปินส์ระบุว่ำ รัฐจะส่งเสริมและ
               ท ำให้ผู้หญิงได้ใช้สิทธิอย่ำงเต็มที่ในทุกๆ ด้ำน

                       จำกกำรศึกษำพบว่ำ กฎหมำยของ ๓ ประเทศครอบคลุมถึงสิทธิ ได้แก่ สิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมี

               ศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ (Right  to  Life)  สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ (Right  to

               Information  and  Education)  สิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด (Right  to  Decide

               Whether or When to Have Children) และสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to Health Care
               and Health Protection) แต่ไม่พบสิทธิในควำมเป็นส่วนตัว (Right to Privacy) ปรำกฎอยู่ในกฎหมำย

                       อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยของแต่ละประเทศถูกกรอบไว้ด้วยควำมคิดควำมเชื่อทำงศำสนำ สังคม

               และวัฒนธรรม และมีอิทธิพลเหนืออนุสัญญำต่ำงๆ ท ำให้ท้ำยที่สุดสิทธิของผู้หญิง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง

               เยำวชนหญิงถูกจ ำกัด สิ่งที่เหมือนกันของทั้ง ๓ ประเทศคือ ยังไม่มีควำมชัดเจนเรื่องสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์

               ว่ำคือ สิทธิมนุษยชน และไม่มีกฎหมำยอนำมัยเจริญพันธุ์ ซึ่งจะช่วยเติมเต็มกำรเข้ำถึงสิทธิด้ำนต่ำงๆ ของ
               เยำวชนที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม เพรำะอคติของคนในสังคมที่ไม่ยอมรับกำรตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิง ท ำให้

               ไม่ได้รับกำรคุ้มครองทำงกฎหมำย และกำรสนับสนุนทำงสังคม ส่งผลให้เยำวชนหญิงเหล่ำนี้ไม่สำมำรถ

               เข้ำถึงสิทธิในด้ำนต่ำงๆ ของตนได้อย่ำงเต็มที่


               ๒.๓ กฎหมายในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม


                       ส ำหรับประเทศไทยที่มีประชำกรประมำณ ๖๗,๐๙๑,๐๙๘ คน เป็นชำติพันธุ์ไทยร้อยละ
               ๗๕, จีนร้อยละ ๑๔ และอื่นๆ ร้อยละ ๑๑ และนับถือศำสนำพุทธร้อยละ ๙๔.๖, อิสลำมร้อยละ

               ๔.๖,  คริสต์ร้อยละ  ๐.๗ และอื่นๆ ร้อยละ ๐.๑  ประชำกรมีอำยุประมำณ ๐-๑๔  ป ี: ร้อยละ

               ๑๙.๙  (ชำย  ๖,๗๗๙,๗๒๓/หญิง  ๖,๔๖๖,๖๒๕) อำยุประมำณ ๑๕-๖๔  ป ี:  ร้อยละ ๗๐.๙

               (ชำย  ๒๓,๔๑๐,๐๙๑/หญิง  ๒๓,๙๑๓,๔๙๙) และอำยุประมำณ ๖๕  ปีขึ้นไป:   ร้อยละ ๙.๒
               (ชำย ๒,๗๗๘,๐๑๒/หญิง ๓,๓๗๒,๒๐๓) ซึ่งมีอัตรำกำรเพิ่มประชำกรอยู่ที่ร้อยละ ๐.๕๔๓ ซึ่ง

               เปรียบเทียบกับประเทศต่ำงๆทั่วโลกอยู่ที่ ล ำดับที่๑๔๗  (Central Intelligence Agency, 2011) ซึ่ง

               ตัวเลขสถิติ ที่ประชุมองค์กำรอนำมัยโลก (World Health Organization: WHO) และจำกจ ำนวนประชำกร

               วัยรุ่นและเยำวชน อำยุ ๑๐ – ๒๔ ปี มีร้อยละ ๒๒ (๑๔ ล้ำนคน) ของประชำกรทั้งหมด (ทะเบียนรำษฎร์

               กรมกำรปกครอง, ๒๕๕๒)และจำกกำรส ำรวจในปีเดียวกัน  ค่ำเฉลี่ยของผู้หญิงตั้งครรภ์ที่มีอำยุต ่ำกว่ำ ๒๐
               ปีของทั่วโลกอยู่ที่ ๖๕ ต่อ ๑,๐๐๐ คน ส่วนค่ำเฉลี่ยของผู้หญิงในทวีปเอเชียอยู่ที่ ๕๖ ต่อ ๑,๐๐๐คน โดย

               ประเทศไทยมีผู้หญิงตั้งครรภ์ที่อำยุต ่ำกว่ำ  ๒๐  ป ี  จ ำนวน  ๗๐  ต่อ๑,๐๐๐คน  ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงสุดของ

               ประเทศในทวีปเอเชีย1 และตัวเลขเหล่ำนี้มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ (วัลยำ ธรรมพนิชวัฒน์,๒๕๕๓, น.

               ๕-๙)




                                                                                                       ๔๒
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48