Page 42 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 42

ครอบครัว เพื่อช่วยคู่สำมีภรรยำในกำรตัดสินใจและตระหนักถึงสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ในด้ำน

                          อำยุที่เหมำะส ำหรับกำรสมรส กำรมีบุตร  ช่องห่ำงของกำรเกิดบุตร และกำรให้ค ำปรึกษำด้ำน
                          อนำมัยเจริญพันธุ์ อย่ำงไรก็ตำมวิธีกำรวำงแผนครอบครัวที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยไม่ได้รวมถึง

                          กำรท ำแท้ง กำรท ำแท้งถือเป็นสิ่งผิดกฎหมำยในประเทศอินโดนีเซีย

                       เป็นที่น่ำสังเกตว่ำ บทบัญญัติที่เกี่ยวกับรัฐ จะอยู่ในหมวดของ อ ำนำจและหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ

               ของรัฐ ในกำรปรับปรุงกำรเข้ำถึงและคุณภำพของข้อมูลข่ำวสำร กำรศึกษำ กำรให้ค ำปรึกษำและกำร

               บริกำรด้ำนกำรคุมก ำเนิด อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยมีกำรย้อนแย้งกันเองในแง่ที่ว่ำ นโยบำยกำรวำงแผน
               ครอบครัวจะก ำหนดและก ำกับโดยควำมพยำยำม กำรวำงแผนกำรตั้งครรภ์จะต้องผ่ำนหลักและบรรทัด

               ฐำนทำงศำสนำ สถำนภำพของควำมก้ำวหน้ำทำงสังคม-เศรษฐกิจและวัฒนธรรม และค่ำนิยมของชุมชน

               นอกจำกนี้ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ำ สิทธิของบุคคลส่วนหนึ่งย่อมถูกลิดรอนหำกต่ำงจำกค่ำนิยมทำงสังคม และ

               หลักทำงศำสนำ ที่ไม่ได้เอื้อต่อกำรด ำรงอยู่ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม ซึ่งไม่สำมำรถเข้ำถึง

               สิทธิที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยได้
                       Population Law บัญญัติว่ำ กำรให้บริกำรด้ำนกำรคุมก ำเนิดยังคงจ ำกัดเฉพำะสำมีภรรยำที่สมรส

               กันแล้วเท่ำนั้น ขณะเดียวกัน New Health Law (Law no. 36/2009) ให้ควำมส ำคัญกับสิทธิอนำมัยเจริญ

               พันธุ์ และอนุญำตให้สำมำรถท ำแท้งโดยปลอดภัยได้ส ำหรับกรณีที่มีข้อบ่งชี้ทำงกำรแพทย์ และกรณีข่มขืน

               กระท ำช ำเรำที่เป็นสำเหตุของกำรตั้งครรภ์ แต่ยังคงต้องมีกำรพัฒนำกฎระเบียบส ำหรับกำรด ำเนินงำน ยำ
               คุมก ำเนิดแบบที่มีฮอร์โมนถูกระบุว่ำเป็นยำและต้องมีใบสั่งยำจำกแพทย์ ควำมก ำกวมของกฎหมำยที่

               ก่อให้เกิดปัญหำกำรตีควำมกฎหมำย ท ำให้เกิดควำมไม่เสมอภำค และกำรเข้ำไม่ถึงกำรบริกำรด้ำนสุขภำพ

               กำรวำงแผนครอบครัวและกำรคุมก ำเนิดของเยำวชนหญิง เช่นเดียวกับประเทศฟิลิปปินส์ ควำมคิดควำม

               เชื่อทำงศำสนำมีอิทธิพลอย่ำงมำกต่อกำรเข้ำถึงสิทธิด้ำนต่ำงๆ ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม
                       กล่ำวโดยสรุป จำกกำรศึกษำกฎหมำยของทั้ง ๓ ประเทศ มีข้อเหมือนและแตกต่ำงไปตำมบริบท

               ทำงสังคมและวัฒนธรรม ฐำนคิดของสังคมที่เป็นตัวก ำกับและสะท้อนออกมำในตัวบทกฎหมำย นโยบำย

               และมำตรกำร แม้ว่ำทั้ง ๓ ประเทศจะรับเอำมุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นแนวคิดที่น ำเข้ำจำกตะวันตก

               แต่กำรน ำแนวคิดนี้มำใช้มีควำมแตกต่ำงกันไปตำมบริบทของแต่ละประเทศด้วยเช่นกัน กฎหมำยที่สะท้อน

               ฐำนคิดทำงสังคมและวัฒนธรรม บำงส่วนย้อนแย้งกับ กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ
               สังคม และวัฒนธรรม ภำค ๒ ข้อ ๕ ซึ่งกล่ำวว่ำ

                       “ห้ามการจ ากัดหรือลิดรอนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ได้รับรองหรือที่มีอยู่ในประเทศใดโดยอาศัย

                       อ านาจของกฎหมาย อนุสัญญา ข้อบังคับ หรือจารีตประเพณี โดยอ้างว่ากติกานี้ไม่รับรองสิทธิเช่น
                       ว่านั้น หรือรับสิทธินั้นในขอบเขตที่ด้อยกว่า”

                       นอกจำกนี้ ทั้ง ๓ ประเทศให้สัตยำบันในอนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุก

               รูปแบบ (Convention  on  the  Elimination  of  All  Forms  of  Discrimination  against  Women  หรือ





                                                                                                       ๔๑
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47