Page 20 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 20
“...(จ) โอกาสเท่ากันที่จะได้เข้าร่วมโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการศึกษา
ต่อเนื่อง รวมทั้งโครงการศึกษาผู้ใหญ่ และโครงการรณรงค์ให้รู้หนังสือ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งโครงการที่มุ่งจะลดช่องว่างในการศึกษาที่มีอยู่ระหว่างบุรุษและสตรี ภายใน
ระยะเวลาที่เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
(ฉ) การลดอัตราการออกจากโรงเรียนของนักศึกษาหญิง และการจัด
โครงการต่าง ๆ ส าหรับเด็กหญิงและสตรีที่ออกจากโรงเรียนก่อนเวลาอันสมควร...”
รวมทั้ง
“(ซ) โอกาสได้เข้าศึกษาข้อสนเทศทางการศึกษาเฉพาะอย่าง เพื่อช่วยให้
หลักประกันด้านสุขภาพและการอยู่ดีของครอบครัว รวมทั้งข้อสนเทศและค าแนะน า
เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว”
นอกเหนือจำกเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระหว่ำงกำรเรียนหนังสือ เยำวชนหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระหว่ำง
กำรท ำงำนยังได้รับกำรคุ้มครองสิทธิด้วยอนุสัญญำฯ ข้อ ๑๑
“๒. เพื่อที่จะป้ องกันการเลือกปฏิบัติต่อสตรีด้วยเหตุผลอันเนื่องมาจากการ
แต่งงานหรือความเป็นเพศมารดา และเพื่อประกันสิทธิอันแท้จริงของสตรีในการที่จะ
ท างาน รัฐภาคีจะใช้มาตรการที่เหมาะสม
(ก) เพื่อห้ามภายใต้การบังคับใช้ของข้อห้ามต่าง ๆ ไม่ให้มีการปลดเพราะ
เหตุแห่งการตั้งครรภ์ หรือเพราะการลาคลอดบุตร และการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐาน
ของสถานภาพในการแต่งงาน
(ข) เพื่อริเริ่มให้มีการลาคลอดบุตรโดยได้รับค่าจ้าง หรือได้ผลประโยชน์ทาง
สังคมที่เปรียบเทียบได้โดยไม่สูญเสียการงานเดิม อาวุโสในการท างานหรือเงิน
ช่วยเหลือทางสังคม”
เช่นเดียวกัน ในประเด็นของสุขอนำมัย สุขภำวะทำงเพศ เยำวชนหญิงตั้งครรภ์ยังได้รับกำรคุ้มครองสิทธิ
โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุผลปัจจัยต่ำงๆ ตำมข้อ ๑๒
“๑. รัฐภาคีจะใช้มาตรการที่เหมาะสมทุกอย่าง เพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อ
สตรีในด้านการรักษาสุขภาพ เพื่อประกันการมีโอกาสได้รับการบริการในการรักษา
สุขภาพ รวมทั้งบริการที่เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว บนพื้นฐานของความเสมอภาค
ของบุรุษและสตรี
๒. ทั้ง ๆ ที่มีบทบัญญัติในวรรค ๑ ของข้อนี้ รัฐภาคีจะประกันให้สตรีได้รับ
บริการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การคลอดบุตรและระยะหลังคลอดบุตร โดย
๒๐