Page 25 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 25
กรอบแนวคิดสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์
แม้ว่ำประเด็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์เป็นกำรปฏิบัติของทุกหน่วยงำนองค์กรทั้ง
ภำครัฐ เอกชน และประชำชนก็ตำม แต่กำรปฏิบัติงำนของภำครัฐภำยใต้กรอบแนวคิดสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์
เกี่ยวข้องโดยตรงกับกระทรวงสำธำรณสุข ที่มีกำรพิจำรณำยกร่ำงกฎหมำยอนำมัยเจริญพันธุ์ซึ่งอยู่ภำยใต้
กรอบของสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์
๑. สิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Rights to Life)
ผู้หญิงมีสิทธิที่จะไม่ตกอยู่ในอันตรำยจำกกำรตั้งครรภ์, ไม่ตกอยู่ในอันตรำยเพรำะกำรท ำแท้งที่ไม่
ปลอดภัย, ไม่ตกอยู่ในอันตรำยเพรำะขำดบริกำรสุขภำพที่ปลอดภัย ขำดบริกำรให้ค ำปรึกษำ และไม่ตกอยู่
ในอันตรำยเพรำะขำดข้อมูลข่ำวสำรในเรื่องสุขภำพทำงเพศและอนำมัยเจริญพันธุ์ โดยยึดหลักปฏิญญำ
สำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ ๓ ที่ว่ำ บุคคลมีสิทธิในกำรด ำเนินชีวิต ในเสรีธรรมและในควำมมั่นคงแห่ง
ร่ำงกำย แผนปฏิบัติกำรประชำกรและพัฒนำ
มำกไปกว่ำนั้น ในมิติสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ ได้หมำยรวมถึงสิทธิใน
เสรีภำพและควำมปลอดภัยของบุคคล (Right of Liberty and Security of Person) ที่ผู้หญิงมีสิทธิที่จะ
ได้รับควำมพึงพอใจ อิสระในกำรเลือกวิถีชีวิตทำงเพศ กำรเจริญพันธุ์ โดยปรำศจำกกำรบังคับ แทรกแซง
ทั้งกำรมีเพศสัมพันธ์ ตั้งครรภ์ ท ำหมัน รวมไปถึงท ำแท้ง ยกเว้นในกรณีที่ผู้หญิงยินยอมโดยอิสระและเต็มใจ
, สิทธิในควำมเสมอภำคและกำรไม่ถูกเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบ (Right of Equality and to Be Free All
Forms of Discrimination) และสิทธิในกำรได้รับควำมปลอดภัยจำกกำรถูกทำรุณกรรมและกำรปฏิบัติ
มิชอบ (Right to Be Free From Torture and All Treatment) ซึ่งเป็นไปตำมปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิ
มนุษยชน รวมไปถึงแผนปฏิบัติเพื่อควำมก้ำวหน้ำของสตรี อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อ
สตรีในทุกรูปแบบ และแผนปฏิบัติกำรประชำกรและกำรพัฒนำ (จิตติมำ ภำณุเดช และคณะ, ๒๕๕๐)
๒. สิทธิในความเป็นส่วนตัว (Rights to Privacy)
กำรให้บริกำรด้ำนสุขภำพทำงเพศและอนำมัยเจริญพันธุ์ทุกรูปแบบ ต้องเป็นกำรให้บริกำรโดย
เคำรพควำมเป็นส่วนตัวและยึดกำรตัดสินใจของผู้รับบริกำรเป็นหลัก รวมถึงเรื่องกำรคุมก ำเนิดและกำรท ำ
แท้ง ซึ่งกำรรักษำควำมลับของผู้รับบริกำรถือเป็นหลักกำรส ำคัญอย่ำงยิ่ง (จิตติมำ ภำณุเดช และคณะ,
๒๕๕๐)
๓. สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารและการศึกษา (Rights to Information and Education)
กำรมีสิทธิรับข้อมูลควำมรู้ที่ถูกต้อง ทันสมัยและรอบด้ำน เพื่อประโยชน์สูงสุดในกำรตัดสินใจในทุก
เรื่องเกี่ยวกับเรื่องสุขภำพทำงเพศและอนำมัยเจริญพันธุ์ของตนเอง ตำมอนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำร
เลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ ข้อ ๑๐ “ก ำหนดว่ำรัฐภำคีจะใช้มำตรกำรที่เหมำะสมทุกอย่ำงเพื่อขจัดกำร
๒๕