Page 16 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 16
บทที่ ๒ กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
๒.๑ กรอบแนวคิดทฤษฎีในการศึกษาวิจัย
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในกำรวิจัยคือ Grounded Theory ซึ่งถูกแปลในชื่อภำษำไทยต่ำงๆ ว่ำ “ทฤษฏี
ฐำนรำก”, “มูลฐำนทฤษฎี” หรือ “ทฤษฎีจำกพื้นที่” ซึ่งเป็นวิธีวิจัย (Research Methodology) ที่มุ่งกำร
สร้ำงทฤษฎีซึ่งมีพื้นฐำนมำจำกปรำกฏกำรณ์ทำงสังคมตำมควำมหมำยของพื้นที่ที่เก็บข้อมูล อันเป็นข้อมูล
เชิงประจักษ์ที่ได้รับกำรรวบรวมและวิเครำะห์อย่ำงเป็นระบบโดยผู้วิจัย กำรวิจัยแบบ Grounded Theory
ถือว่ำเป็นที่นิยมน ำมำใช้ในกำรวิจัยเชิงคุณภำพอย่ำงมำก เนื่องจำกมีประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อกำรท ำควำม
เข้ำใจปรำกฏกำรณ์ต่ำง ๆ บนพื้นฐำนของบริบท (context-based) มีกำรบรรยำยกระบวนกำรที่ชัดเจน
(process-oriented descriptions) และสำมำรถอธิบำยปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้น (explanations of the
phenomenon) ในสภำพกำรณ์จริง ทฤษฎีนี้เริ่มต้นใช้อย่ำงชัดเจนจำกนักสังคมวิทยำ บำร์นีย์ เกรเซอร์
(Braney Grazer) และแอนเซล์ม สเตรำส์ (Anselm Strauss 1916-1996) ที่ใช้ตรรกอุปนัย (Inductive
Method) อำศัยข้อมูลจำกกำรสังเกตอย่ำงใกล้ชิด ซึ่งตรงข้ำมกับ ทฤษฎีนำมธรรม (Formal Theory) ที่ใช้
วิธีตรรกนิรนัย (Deductive Method) โดยสร้ำงสมมุติฐำนและน ำไปทดสอบกับข้อมูลจำกกำรสังเกตอย่ำง
เป็นระบบ เพื่อเป็นควำมพยำยำมหลีกเลี่ยงควำมเป็นนำมธรรมมำกเกินไปของงำนวิจัยด้ำนสังคมวิทยำ
และพยำยำมอุดช่องว่ำงระหว่ำงกำรวิจัยเชิงประจักษ์ที่ขำดรำกฐำนทำงทฤษฎีและกำรสร้ำงทฤษฎีที่ขำด
รำกฐำนเชิงประจักษ์ (Urquhart et al, 2010, pp. 317-416) ซึ่งทฤษฎีดังกล่ำวท ำให้งำนวิจัยมีทั้งควำม
น่ำเชื่อถือและสำมำรถอธิบำยปรำกฏกำรณ์ทำงสังคมได้อย่ำงชัดเจน
ส ำหรับ Grounded Theory ในงำนวิจัยชิ้นนี้เป็นกำรน ำชุดประสบกำรณ์ของเยำวชนหญิงที่
ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมจำกกำรวิจัยภำคสนำมมำศึกษำว่ำ กลุ่มเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ได้ถูกละเมิดสิทธิหรือ
ได้รับกำรคุ้มครองสิทธิอย่ำงไรบ้ำงจำกกำรตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นสิทธิมนุษยชนที่อยู่ภำยใต้ปฏิญญำสำกลว่ำด้วย
สิทธิมนุษยชน, กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม, อนุสัญญำว่ำด้วย
กำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ, อนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก, แผนปฏิบัติกำรประชำกรและ
กำรพัฒนำ และแผนปฏิบัติเพื่อควำมก้ำวหน้ำของสตรี ที่รัฐสมำชิกหรือรัฐภำคีจะต้องคุ้มครองสิทธิ ขจัด
กำรละเมิดสิทธิต่ำงๆ กำรเลือกปฏิบัติแบ่งแยกกีดกันกำรเข้ำถึงกำรศึกษำ ควำมปลอดภัย รัฐสวัสดิกำรไป
จนถึงทรัพยำกรต่ำงๆ ของรัฐและสังคม ขจัดกำรกระท ำที่เป็นกำรทำรุณกรรม กำรข่มเหงรังแก ก่อให้เกิด
อันตรำยทำงกำย จิตใจ ที่เกิดขึ้นกับมนุษยชน อย่ำงเสมอภำคเท่ำเทียม ไม่ว่ำเพศใดก็ตำมหรือในวัยใด
ก็ตำม ซึ่งรวมถึงเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ ดังนี้
๑๖