Page 23 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 23

ก) จัดการศึกษาระดับประถมเป็นภาคบังคับที่เด็กทุกคนสามารถเรียนได้โดย

                       ไม่เสียค่าใช้จ่าย
                              ข)  สนับสนุนการพัฒนาของการศึกษาระดับมัธยมในรูปแบบต่างๆ  รวมถึง

                       การศึกษาสายสามัญและสายอาชีพ จัดการศึกษาให้แพร่หลายและเปิดกว้างแก่เด็ก

                       ทุกคน และด าเนินมาตรการที่เหมาะสม เช่น การน ามาใช้ซึ่งการศึกษาแบบให้เปล่า

                       และการเสนอให้ความช่วยเหลือทางการเงินในกรณีที่จ าเป็น
                              ค)     ท าให้การศึกษาในระดับสูงเปิ ดกว้างแก่ทุกคนบนพื้นฐานของ

                       ความสามารถ โดยทุกวิธีการที่เหมาะสม

                              ง)  ท าให้ข้อมูลข่าวสาร  และการแนะแนวทางการศึกษาและอาชีพ  เป็นที่
                       แพร่หลายและเปิดกว้างแก่เด็กทุกคน

                              จ) ด าเนินมาตรการเพื่อสนับสนุนการเข้าเรียนอย่างสม ่าเสมอ และลดอัตรา

                       การออกจากโรงเรียนกลางคัน

                              ๒.  รัฐภาคีจะด าเนินมาตรการที่เหมาะสมที่จะประกันว่า  ระเบียบวินัยของ
                       โรงเรียนได้ก าหนดขึ้นในลักษณะที่สอดคล้องกับศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของเด็ก

                       และสอดคล้องกับอนุสัญญานี้

                              ๓.  รัฐภาคีจะส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศ  ในส่วนที่
                       เกี่ยวกับการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพื่อที่จะเกื้อกูลต่อการขจัดความเขลาและการ

                       ไม่รู้หนังสือทั่วโลก  และเอื้ออ านวยให้ได้รับความรู้ทางวิชาการและทางเทคนิคและ

                       วิธีการสอนสมัยใหม่เกี่ยวกับเรื่องนี้  ความต้องการของประเทศก าลังพัฒนาจะได้รับ
                       การพิจารณาเป็นพิเศษ”

                                                                          (อนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก,  ๒๕๕๔)



                     แผนปฏิบัติการประชากรและการพัฒนา
                       แผนปฏิบัติกำรประชำกรและกำรพัฒนำ พ.ศ. ๒๕๓๗  ไม่เพียงคุ้มครองสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์

               คุ้มครองผู้หญิงไม่ให้ถูกกระท ำควำมรุนแรง กำรกระท ำทำงเพศในทำงที่ผิด ส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อกำร

               เจริญพันธุ์ ยังมีผลต่อกำรคุ้มครอง สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของผู้หญิง กำรตัดสินใจต่อเนื้อตัวร่ำงกำยตนเอง

               รวมไปถึงกำรตั้งครรภ์อย่ำงเต็มที่ ซึ่งตำมหน้ำที่รัฐจะต้องคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐำนของผู้หญิงอย่ำงสมบูรณ์
               ต่อกำรเข้ำถึงกำรบริกำรที่เกี่ยวข้องกับอนำมัยเจริญพันธุ์ แม้แต่กำรยุติกำรตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ในกรณีที่

               ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ด้วยกำรก ำหนดแผนปฏิบัติกำรต่ำงๆ (Center for Reproductive Rights, 2005, น. ๒๐)

               เช่น ในแผนปฏิบัติกำรฯ ย่อหน้ำ ๗.๓ ที่ว่ำด้วยสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ที่หมำยรวมถึงสิทธิมนุษยชน ที่

               ยอมรับสิทธิพื้นฐำนของคู่และปัจเจกที่จะตัดสินใจอย่ำงอิสระและรับผิดชอบในเรื่องจ ำนวนบุตร เวลำที่จะมี






                                                                                                       ๒๓
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28