Page 15 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 15
อย่ำงมีศักดิ์ศรี ไม่ถูกกีดกัน แบ่งแยก เลือกปฏิบัติ สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรเรื่องบริกำรเกี่ยวกับกำร
ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กำรท ำแท้งที่ปลอดภัย กำรดูแลครรภ์ต่อไปอย่ำงปลอดภัย และสิทธิควำมเป็นส่วนตัว
และรักษำควำมลับในเรื่องกำรตั้งครรภ์ กำรคลอด กำรท ำแท้งและกำรใช้บริกำรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำร
ตั้งครรภ์และกำรคลอด
“เยาวชน” หมำยถึง ในกำรวิจัยครั้งนี้ ได้ก ำหนดขอบเขตควำมหมำยของเยำวชนอยู่ที่อำยุ ๒๔ ปี ขณะที่
พ.ร.บ. ส่งเสริมกำรพัฒนำเด็กและเยำวชนแห่งชำติ (๒๕๕๐) ก ำหนดขอบเขตเยำวชนอยู่ที่ อำยุ ๒๕ ป ี
บริบูรณ์ เนื่องจำกในกำรวิจัยครั้งนี้ได้ค ำนึงถึงวัยรุ่นและกำรปฏิบัติกำรทำงสังคม ที่ “ควำมเป็นวัยรุ่น” ของ
กระทรวงสำธำรณสุข ถูกนิยำมอยู่ที่อำยุ ๒๔ ป ี”
“ตั้งครรภ์ไม่พร้อม” หมำยถึง กำรตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิงอำยุตั้งแต่ ๑๕-๒๔ ป ี ซึ่งเป็นกำรตั้งครรภ์ที่
เยำวชนหญิงเองคิดหรืออธิบำยว่ำเป็นกำรตั้งครรภ์ที่ตนเองไม่ได้ตั้งใจ ไม่ได้เตรียมตัวส ำหรับกำรตั้งครรภ์ใน
ครั้งนี้ อนึ่ง ค ำว่ำ “ตั้งครรภ์ไม่พร้อม” ในงำนวิจัยชิ้นนี้เป็นค ำที่ใช้เลี่ยงแทนค ำว่ำ “ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร”
๑.๑๑ ข้อจ ากัดในการวิจัย
๑. กำรเข้ำถึงเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ที่ตัดสินใจยุติกำรตั้งครรภ์เป็นไปได้ยำก เพรำะเยำวชนหญิง
กลุ่มนี้มักไม่ต้องกำรเปิดเผยเรื่องรำว ประสบกำรณ์ และยินยอมให้ข้อมูล
๒. กำรวิจัยศึกษำข้อมูลเอกสำรเกี่ยวกับกฎหมำย ของ ๓ ประเทศ ได้แก่ เวียดนำม ฟิลิปปินส์
และอินโดนีเซีย ผู้วิจัยสำมำรถเข้ำถึงเอกสำรกฎหมำยได้เฉพำะเอกสำรที่ถูกแปลและน ำเสนอใน
รูปแบบของภำษำอังกฤษเท่ำนั้น ท ำให้ไม่สำมำรถเข้ำถึงเอกสำรกฎหมำยภำษำประจ ำชำติของทั้ง
๓ ประเทศได้
๑๕