Page 19 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 19

ปฏิบัติต่อสตรี บนพื้นฐำนส ำนึกที่ว่ำกำรเลือกปฏิบัติ “ขัดต่อหลักการของความเสมอภาคของสิทธิและ

               ความเคารพต่อเกียรติศักดิ์ของมนุษย์” ซึ่งกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีหมำยถึง
                              “การแบ่งแยก การกีดกัน หรือการจ ากัดใด ๆ เพราะเหตุแห่งเพศ ซึ่งมีผลหรือ

                       ความมุ่งประสงค์ที่จะท าลายหรือท าให้เสื่อมเสียการยอมรับ  การได้อุปโภค  หรือใช้

                       สิทธิโดยสตรี โดยไม่ค านึงถึงสถานภาพด้านการสมรส บนพื้นฐานของความเสมอภาค

                       ของบุรุษและสตรีของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานในด้านการเมือง
                       เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของพลเมืองหรือด้านอื่น ๆ”



                       ดังนั้น อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบจึงมีควำมส ำคัญอย่ำงมำก

               ต่อกำรคุ้มครองสิทธิของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ไม่ให้ถูกละเมิด นอกเหนือจำกประเด็นควำมเสมอภำค
               ระหว่ำงชำยหญิง อนุสัญญำฯ ยังขจัดควำมไม่เสมอภำคระหว่ำงควำมไม่เท่ำเทียมระหว่ำงเยำวชนหญิง

               ตั้งครรภ์และผู้หญิงตั้งครรภ์เมื่อพ้นกำรเป็นเยำวชน ตำมภำคที่ ๑ ข้อที่ ๑ ตำมอนุสัญญำดังนี้

                               “ปัจจุบันนี้ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างเต็มที่  ความส าคัญทางสังคมของ

                       ความเป็นเพศมารดาและบทบาทของบิดามารดาในครอบครัวและในการเลี้ยงดูบุตร
                       และตระหนักว่าบทบาทของสตรีในการให้ก าเนิดบุตรไม่ควรจะเป็นพื้นฐานในการ

                       เลือกปฏิบัติ แต่ตระหนักว่า การเลี้ยงดูบุตรจะต้องได้รับผิดชอบร่วมกันระหว่างบุรุษ

                       และสตรี และสังคมทั้งมวล”

               ที่รัฐมีหน้ำที่โดยตรงในกำรบริกำรทรัพยำกรต่ำงๆ เพื่อเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ตำมข้อ ๕ ที่
                              “รัฐภาคีจะใช้มาตรการที่เหมาะสมทั้งปวง...  (ข)  เพื่อประกันว่า  การศึกษา

                       เกี่ยวกับระบบครอบครัวรวมถึงความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับความเป็นเพศมารดา

                       ในฐานะเป็นหน้าที่ทางสังคม และเป็นการยอมรับถึงความรับผิดชอบร่วมกันของบุรุษ
                       และสตรีในการเลี้ยงดูและการพัฒนาบุตร  ทั้งยังเป็นที่เข้าใจด้วยว่าในทุก  ๆ  กรณี

                       ผลประโยชน์ของบุตรย่อมเป็นสิ่งที่ต้องค านึงถึงเป็นเบื้องแรก”

               ซึ่งรวมไปถึงกำรศึกษำที่เยำวชนหญิงตั้งครรภ์จะได้รับกำรคุ้มครองสิทธิ ตำมอนุสัญญำภำคที่ ๓ ข้อ ๑๐ ที่

                              “รัฐภาคีจะใช้มาตรการที่เหมาะสมทุกอย่างเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี
                       เพื่อที่จะให้ประกันแก่สตรีทั้งหลายซึ่งสิทธิอันเสมอภาคกันกับบุรุษในด้านการศึกษา

                       และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อประกันบนพื้นฐานแห่งความเสมอภาคของบุรุษและสตรี

                              (ก) เงื่อนไขเดียวกันส าหรับอาชีพและการแนะแนวอาชีพ สาหรับการมีโอกาส

                       เข้าศึกษา และส าหรับการได้รับวุฒิบัตรในสถาบันการศึกษาทุกประเภท...”
               และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง









                                                                                                       ๑๙
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24