Page 18 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 18

  กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

                       เป็นกติกำระหว่ำงประเทศที่ประเทศไทยเข้ำเป็นภำคีเมื่อ ๕ กันยำยน ๒๕๔๒ และมีผลใช้บังคับ ๕

               ธันวำคม  ๒๕๔๒ ซึ่งเนื่องจำกเป็นกติกำระหว่ำงประเทศฯ ที่มุ่งก ำหนดถึงบทบำทของรัฐที่มีต่อสังคม
               วัฒนธรรมวิถีชีวิตของพลเมืองจึงมีเนื้อหำเกี่ยวข้องกับสิทธิเยำวชนหญิงตั้งครรภ์โดยเฉพำะ โดยระบุไว้ตำม

               ภำคและข้อต่ำงๆ ได้แก่ ภำค ๒ ข้อ ๕ ดังนี้

                               “๒.  ห้ามการจ ากัดหรือลิดรอนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ได้รับการรับรอง

                       หรือที่มีอยู่ในประเทศใด  โดยอาศัยอ านาจของกฎหมาย  อนุสัญญา  ข้อบังคับ  หรือ
                       จารีตประเพณี  โดยอ้างว่ากติกานี้ไม่รับรองสิทธิเช่นว่านั้น  หรือรับรองสิทธินั้นใน

                       ขอบเขตที่ด้อยกว่า”

               และภำค ๓ ข้อ ๑๐ ดังนี้

                              “รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรองว่า
                              ๑. ครอบครัว ซึ่งเป็นหน่วยรวมของสังคมที่เป็นพื้นฐานและเป็นธรรมชาติควร

                       ได้รับการคุ้มครอง  และช่วยเหลืออย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่จะท าได้  โดยเฉพาะใน

                       การจัดตั้งและในขณะที่ต้องรับผิดชอบต่อการดูแลและการศึกษาของเด็กที่ยัง
                       พึ่งตนเองไม่ได้  การสมรสต้องกระท าโดยความยินยอมอย่างเสรีของผู้ที่เจตนาจะ

                       สมรส ๒. มารดาควรได้รับการคุ้มครองพิเศษระหว่างช่วงระยะเวลาตามควรก่อนหรือ

                       หลังการให้ก าเนิดบุตร  ในระหว่างช่วงระยะเวลาเช่นว่า  มารดาซึ่งท างานควรได้รับ

                       อนุญาตให้ลาโดยได้รับค่าจ้าง หรือลาโดยมีสิทธิประโยชน์ด้านสวัสดิการสังคมอย่าง
                       เพียงพอ...”

               รวมไปถึงกำรศึกษำที่รัฐจะต้องให้พลเมืองทุกคนในรัฐได้รับกำรศึกษำ ตำมกติกำข้อ ๑๓ ที่ว่ำ

                              “๑.  รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรองสิทธิของทุกคนในการศึกษา  รัฐภาคีเห็นพ้อง
                       กันว่าการศึกษาจะต้องมุ่งให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์และความส านึกใน

                       ศักดิ์ศรีของตนอย่างบริบูรณ์  และจะต้องเพิ่มพูนการเคารพในสิทธิมนุษยชนและ


                       เสรีภาพขั้นพื้นฐาน...”
                              (กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม, ๒๕๕๕)


                     อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

                       เนื่องจำกเป็นกำรศึกษำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมและก ำลังประสบกับปัญหำกำร

               ด ำรงชีวิตในสังคมและรัฐไทยในมิติสิทธิมนุษยชน จึงจ ำเป็นที่จะต้องใช้อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือก
               ปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบเป็นกรอบแนวคิดกำรถูกละเมิดสิทธิฯ เพรำะเป็นอนุสัญญำที่มุ่งขจัดกำรเลือก









                                                                                                       ๑๘
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23