Page 21 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 21

การให้บริการแบบให้เปล่าเมื่อจ าเป็น รวมทั้งการให้โภชนาการที่เพียงพอระหว่างการ

                       ตั้งครรภ์และระยะการให้นม”
               และในภำคที่ ๔ ข้อ ๑๖ ที่เกี่ยวข้องกำรกำรแต่งงำนและควำมสัมพันธ์ในครอบครัว

                              “(ง) สิทธิและความรับผิดชอบเช่นเดียวกันในฐานะบิดามารดา โดยไม่

                       ค านึงถึงสถานะในการสมรสของตน ในเรื่องที่เกี่ยวกับบุตรของตน ในทุกกรณี

                       ผลประโยชน์ของบุตรจะเป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุด
                              (จ) สิทธิเช่นเดียวกันในการตัดสินใจอย่างอิสระและมีความรับผิดชอบใน

                       จ านวนบุตรและระยะห่างในการมีบุตรของตน และให้เข้าถึงข้อสนเทศ การศึกษาและ

                       วิธีที่จะท าให้สตรีใช้สิทธิเหล่านี้ได้

                              (ฉ) สิทธิและความรับผิดชอบเช่นเดียวกันในเรื่องการปกครองบุตร การ
                       ปกป้ องบุตร การได้รับมอบหมายให้ดูแลบุตร และการรับบุตรบุญธรรม หรือสถาบันที่

                       คล้ายคลึงซึ่งมีแนวความคิดเหล่านี้อยู่ในกฎหมายภายใน ในทุกกรณีผลประโยชน์

                       ของบุตรจะเป็นสิ่งส าคัญสูงสุด”

                                            (อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ, ๒๕๕๔)



                     อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
               เยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์บำงคน ยังคงถือว่ำอยู่ในวัยเด็ก เนื่องจำกอำยุต ่ำกว่ำ ๑๘ ปี ดังนั้นในกำรศึกษำมิติ

               สิทธิมนุษยชนของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์จึงจ ำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องอำศัยอนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก เป็นอีก

               กรอบแนวคิด ซึ่งอนุสัญญำดังกล่ำวมีข้อก ำหนดจ ำนวนมำกที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์

               ตำมข้อก ำหนดดังนี้
                              “ข้อ ๑๙

                              ๑.รัฐภาคีจะด าเนินมาตรการที่เหมาะสมทั้งปวง  ด้านนิติบัญญัติ  บริหาร

                       สังคมและการศึกษา ในอันที่จะคุ้มครองเด็กจากรูปแบบทั้งปวงของความรุนแรง ทั้ง
                       ทางร่างกายและจิต การท าร้ายหรือการกระท าอันมิชอบ การทอดทิ้งหรือการปฏิบัติ

                       โดยประมาท การปฏิบัติที่ผิดหรือการแสวงประโยชน์ รวมถึงการกระท าอันมิชอบทาง

                       เพศ ขณะอยู่ในความดูแลของบิดามารดา ผู้ปกครองตามกฎหมาย หรือบุคคลอื่นใด

                       ซึ่งเด็กนั้นอยู่ในความดูแล”
               รวมไปถึงในประเด็นสุขอนำมัย สุขภำวะทำงเพศของเด็ก ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์

               ตำมอนุสัญญำ ข้อ ๒๔ ดังนี้

                              “๑. รัฐภาคียอมรับในสิทธิของเด็กที่จะได้รับมาตรฐานสาธารณสุขที่สูงที่สุด
                       เท่าที่จะหาได้และสิ่งอ านวยความสะดวก ส าหรับการบ าบัดรักษาความเจ็บป่วยและ







                                                                                                       ๒๑
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26