Page 193 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 193

อีกส่วนหนึ่งที่รายงานวิจัยแตะไว้ แต่ไม่ได้เขียนในส่วนข้อเสนอแนะ นั่นคือเรื่องของการ support เมื่อเด็กต้องการ

               ยุติการตั้งครรภ์หรือแม้แต่เด็กต้องการด ารงครรภ์ต่อ   เรารู้เลยว่าคนที่ต้องการการสนับสนุนนั้นไม่ใช่แค่พ่อแม่
               เท่านั้น  องคาพยพทั้งหมดต้องการการสนับสนุน เพราะเรารู้เลยว่า การจะเลี้ยงลูกหนึ่งคน ถ้าเด็กเจ็บป่วยขึ้นมา

               หรือเป็นอะไร เขาต้องการคน support เขานะ ซึ่งออกมาในทุกรูปแบบเลย ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนทั้ง

               งบประมาณ ทั้งองค์ความรู้ ในเรื่องแนวความคิด เรื่องการวางแผน และ support ตัวลูกน้อยที่เกิดมาอีก  ดิฉันคิด

               ว่างานวิจัยจะสามารถตอบเรื่องสิทธิมนุษยชนได้ และควรเขียนฟันธงไปว่า หากกรรมการสิทธิจะเอารายงานชิ้นนี้

               ไปใช้ เขาต้องการท าอะไรบ้างเป็นขั้นตอน ๑ ๒ ๓ ๔...

               ตอนนี้ยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานเรามีแล้ว แต่ท าไมงานมันเคลื่อนไปไม่ได้   ดังนั้น ทีมวิจัยจึงต้องเสนอในแง่

               นโยบาย เรื่องการปฏิบัติ


               รศ.ทวีเกียรติ

               ต.ย.จากข้อสอบโอเน็ต ที่ถามว่าหากเกิดความรู้สึกทางเพศ จะท าอย่างไร  น่าตลกว่าไม่มีตัวเลือก “ส าเร็จความ

               ใคร่ด้วยตนเอง” นี่สะท้อนวิธีคิดเรื่องเพศหลายอย่างในสังคมไทย

               คุณนัยนา

               งานวิจัยนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานให้คณะกรรมการสิทธิฯ ท างานเรื่องนี้ต่อไปเพื่อท าข้อเสนอแนะต่อภาคราชการใน

               แนวที่ อ.ทวีเกียรติเสนอมาน่ะค่ะ

               ผศ.สัญญา


               ผมขอเสริมนักวิจัยว่าเรื่องวัยรุ่นกับเซ็กส์ เป็นเรื่องธรรมชาติ ไม่แปลกอะไร เพราะในทางชีววิทยา หากเลยอายุ

               ช่วงนึง เซ็กส์จะมีขาลง โดยเฉพาะถ้าเลยอายุ ๓๕ ปี จะลงเหวเลย   วัยรุ่นมีลูกจึงเป็นเรื่องธรรมชาติ  เมื่อไปส ารวจ
               ดูนิยายก าลังภายในต่างๆ เราจะเจอว่าทุกเรื่องนางเอกเป็นวัยรุ่นทั้งนั้น   อีกอย่าง หากวัยรุ่นตั้งครรภ์ จะคลอดง่าย

               เพราะแข็งแรง มีพลังเบ่ง และลูกจะตัวไม่ใหญ่ ค่อนข้างสมดุลกับแม่   ดังนั้น ข้อยืนยันทางการแพทย์คือ วัยรุ่น

               ตั้งครรภ์ไม่ใช่เป็นเรื่องไม่พึงปรารถนา คุณอย่าไปเลือกปฏิบัติกับเขาก็แล้วกัน




               ค าถามจากผู้เข้าร่วม

               กมส. : (๑) ค าว่า “เยาวชน” ต้องอายุไม่มากกว่า ๒๕ ปี ในงานวิจัยเขียน ๒๔ ปี  (๒) บางข้อเขียนอาจไปต าหนิ

               บางหน่วยงานรุนแรงไป อยากให้เขียนในเชิงบวก  (๓) เรื่องของการจ าแนกประเด็นสิทธิ อยากให้ระบุให้ชัดเจนไป

               ว่า ประเด็นที่น าเสนอนี้โยงกับสิทธิอะไร  (๔) อยากเห็นงานวิจัยที่จะช่วยให้สามารถน าไปใช้ได้จริง





                                                                                                             ค-๒๐
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198