Page 198 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 198

เป็นทางออกของเขา   แต่ประเด็นสิทธิมนุษยชนอยู่ตรงที่อะไรท าให้เค้ารู้สึกผิดจึงต้องไปสแกนกรรม  มันมีสิทธิของ

               ความเป็นพลเมืองไทยภายใต้รัฐธรรมนูญไทยอะไรที่ท าให้เขาท าอย่างนั้นแล้วรู้สึกผิด

               คุณศรีสุมาลย์ UNFPA

               ๑)  การเลือก ๓ ประเทศเป็นประโยชน์มากเพราะใกล้เคียงกับประเทศไทย  แต่อยากทราบว่าเวลาพูดถึงเยาวชน

                    หญิงที่ตั้งครรภ์  ทีมวิจัยหมายถึงอะไรระหว่าง adolescent birth rate หรือ adolescent delivery rate หรือ

                    adolescent abortion rate  มันอาจมีผลต่อการเอาข้อมูลไปใช้   ในประเทศเราเอง ยังมีช่องทางเกี่ยวกับ

                    ข้อมูลตรงนี้ เราไม่ทราบว่าจะเอาตัวไหนมาอ้างอิง

               ๒)  การทบทวนกฎหมายของ ๓ ประเทศ อยากทราบว่า หากมีกฎหมายนี้จริงๆ มีข้อมูลสนับสนุนอะไรที่บอกว่า มี

                    กฎหมายจะเพิ่มหรือไม่เพิ่มอัตราการท าแท้งหรือไม่  น่าจะเขียนลงไปในงานวิจัยนี้นะคะ


               ๓)  MDG5 เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษข้อ ๕ คิดว่างานวิจัยนี้คงต้องช่วยตอบสิ่งที่เกี่ยวข้องอยู่ ๔ เรื่อง

                    กล่าวคือ อันตรายของการใช้วิธีการคุมก าเนิดต่างๆ  เรื่องของ adolescent birth rate  เรื่องของ unmet
                    needs ในประเด็นการวางแผนครอบครัว  และท้ายสุดคือ เรื่องของ ANC ซึ่งเข้าใจว่าการได้รับ ANC ต้องเสีย

                    เงิน  แต่ที่ได้ข้อมูลจาก สปสช. ANC ไม่ต้องเสียเงิน แต่เยาวชนน่าจะไม่ทราบสิทธิของตัวเองตรงนี้

               ๔)  อยากให้เขียนในรายงานวิจัยว่า มีสิทธิอะไรบ้างที่เสนอแนะแล้ว หากทาง กสม. ไม่ขับเคลื่อนต่อ จะเกิด

                    ผลเสียร้ายแรง  และผลเสียนั้นคือ อะไร เพื่อที่งานวิจัยจะได้น าไปใช้ได้จริงและสามารถวางแผนการท างาน

                    ต่อไป


               พี่แสง มูลนิธิดวงประทีป

               ตามประสบการณ์ที่ท างานมา ด่านแรกที่เด็กต้องเจอเมื่อท้องไม่พร้อม คือ สถานีต ารวจ แต่ต้องบอกเลยว่าล้าสมัย

               มาก  อยากให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติช่วยให้ สน.มีระบบออนไลน์ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ เพราะเคยมีเหตุที่
               เราพาเด็กที่ถูกข่มขืนไปแจ้งความ สน.ที่ใกล้ที่สุด พอเด็กเล่าเหตุการณ์จบ (ในขณะที่ไม่มีห้องส่วนตัว) ตร.กลับ

               บอกว่า ที่นี่ไม่รับผิดชอบพื้นที่ที่เกิดเหตุ จะบอกว่าเรื่องแบบนี้มันท าให้คนเล่าอายมากพออยู่แล้ว แต่นี่ต้องไปเล่า

               เหตุการณ์ทั้งหมดใหม่อีกรอบใน สน.แห่งใหม่  นี่เป็นการถูกกระท าความรุนแรง


               ขอเสนอว่า งานวิจัยน่าเขียนในข้อเสนอแนะว่าจะแจ้งความที่ไหนก็แจ้งได้ แล้วออนไลน์กัน เพื่อปกป้ องสิทธิความ
               เป็นส่วนตัว   นอกจากนี้ การมีร้อยเวรเพศหญิงส าหรับรับแจ้งความประเด็นเหล่านี้ ก็ควรชัดเจนและมีทุก สน.












                                                                                                             ค-๒๕
   193   194   195   196   197   198   199