Page 178 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 178

วิธีธรรมชาติ  จึงท าให้ประเทศฟิลิปปินส์ประสบปัญหาประชากรหนาแน่น อันเนื่องมาจากการไม่ให้ความส าคัญ

               เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว ทั้งนี้เพราะความคิดความเชื่อทางศาสนาที่ห้ามเรื่องการคุมก าเนิด

               กฎหมายที่น ามาวิเคราะห์ ได้แก่ กฎหมายครอบครัวของฟิลิปปินส์ (Family Code of the Phillipines) กฎหมาย

               เกี่ยวกับสวัสดิการเด็กและเยาวชน (The Child and Youth Welfare Code)  นโยบายด้านประชากรที่ชื่อ

               Population Policy Manual and Laws and Civil Code of the Philippines  และกฎหมายส าคัญที่ให้

               ความส าคัญในประเด็นผู้หญิงอย่าง An Act Providing for the Magna Carta of Women ซึ่งส่วนหนึ่งพัฒนามา
               จากตัวอนุสัญญา CEDAW


               ต่อไปจะลงรายละเอียดทีละกฎหมายนะคะ


               ประเทศฟิลิปปินส์มีกฎหมายคุ้มครองเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะที่เรียกว่า Special Protection of Children
               against Child Abuse, Exploitation and Discrimination Act ซึ่งก็เหมือนเวียดนามตรงที่มีการระบุสิทธิในด้าน

               ต่างๆ เช่น สิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยกฎหมายนี้ให้ความหมายของค าว่า “เด็ก” ว่า

               อายุต ่ากว่า ๑๘ ปี ไม่สามารถดูแลตัวเองได้อย่างเต็มที่หรือป้ องกันตนเองได้จากความรุนแรงใดๆ

               ส่วนกฎหมายต่อมาคือ Child and Youth Welfare Code (1974)  “เด็กและเยาวชน” คือบุคคลที่มีอายุต ่ากว่า ๒๑

               ปี


               และที่กล่าวไว้ตอนต้นว่าศาสนจักรโรมันคาทอลิกมีอิทธิพลมากก็ดูจากกฎหมายที่เรียกว่า Protection of Unborn
               Child Act of 2010 อันเป็นการให้การคุ้มครองกับทารกตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ นั่นหมายความว่าไม่สามารถมีการท า

               แท้งได้เลย   ในกฎหมายระบุว่า รัฐจะให้ความคุ้มครองชีวิตของแม่และทารกตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิอย่างเท่าเทียมกัน

               รัฐให้ความส าคัญกับสิทธิในชีวิต ซึ่งถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานมากกว่าสิทธิใดๆ และอยู่เหนือสิทธิด้านอื่นๆ

               กฎหมายอีกฉบับคือ Act Providing for the Magna Carta of Women ซึ่งพัฒนามาจากตัว CEDAW ที่ฟิลิปปินส์

               ไปลงนามไว้


               กฎหมายนี้พูดเรื่อง (ก) สิทธิในการดูแลและป้ องกันสุขภาพ (ข) สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารและการศึกษา และ
               (ค) สิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  ที่น่าสนใจคือ ข้อก าหนดที่ ๑๓ ระบุว่า ร.ร.จะให้ออกหรือ

               ปฏิเสธการเข้าเรียนเพียงเพราะนักเรียน/ นักศึกษาหญิงตั้งครรภ์นอกสมรสไม่ได้


               อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตคือ แม้ว่าตัวกฎหมายทั้งหมดที่น ามาศึกษาจะให้การคุ้มครองสิทธิต่างๆ ของเยาวชนและ

               หญิง แต่กฎหมายถูกก ากับอีกชั้นหนึ่งด้วยความเชื่อทางศาสนา บรรทัดฐานทางสังคม และวัฒนธรรม  เมื่อเป็น
               แบบนี้ ในความเป็นจริง เยาวชนหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงานแต่เกิดตั้งครรภ์ ก็คงไม่สามารถเข้าถึงสิทธิเหล่านี้ได้






                                                                                                              ค-๕
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183