Page 92 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 92

เปรียบเทียบพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 ที่ไมสอดคลองกับอนุสัญญา

               ฉบับที่ 87 และ 98   13




                  ตารางเปรียบเทียบพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518 ที่ไมสอดคลองกับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 87 และ 98

                     ประเด็น       หลักการของอนุสัญญาฉบับที่   กฎหมายแรงงานสัมพันธที่ไมสอดคลองกับอนุสัญญา
                                          87 และ 98                       ฉบับที่ 87 และ 98

                 1.ผูมีสิทธิจัดตั้งสหภาพ อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่องหลักการ -  ตองมีอายุ  20  ป  หรือบรรลุนิติภาวะและสัญชาติไทย
                 แรงงานและเปนกรรม- จัดตั้งองคกรโดยเสรีและปราศจาก -  เปนลูกจางที่หมายถึง  ผูซึ่งตกลงทำงานใหแกนายจางเพื่อ
                 การสหภาพแรงงาน การเลือกปฏิบัติ               รับคาจาง ทำใหผูประกอบอาชีพอิสระ
                                                              ผูรับงานไปทำที่บาน
                                                              ฯลฯ ตั้งสหภาพแรงงานไมได
                                                            - ลูกจางเอกชนและรัฐวิสาหกิจ ไมสามารถรวมตัวกันจัดตั้ง
                                                              เปนองคกรเดียวกัน เพราะกฎหมายแบงแยกออกจากกัน
                                                            - มีขอยกเวนหามขาราชการ ลูกจาง ของสวนราชการจัดตั้ง
                                                              สหภาพแรงงานได



                 2.หลักเกณฑการจัดตั้ง อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่อง เจาหนาที่  - ลูกจางอยางนอย 10 คน ตองไปยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตั้ง
                 สหภาพแรงงานและการ ตองละเวนการแทรกแซงใดๆ หรือ    สหภาพแรงงาน พรอมกับรางขอบังคับสหภาพแรงงาน รวมทั้ง
                 ดำเนินงาน        ขัดขวางการบริหารงาน การดำเนิน    กรรมการสหภาพแรงงานเมื่อไดรับเลือกตั้งจากสมาชิกแลว
                                  กิจกรรมขององคกรคนงาน       ตองนำไปยื่นจดทะเบียนตอเจาหนาที่รัฐ
                                                            - สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองมีสมาชิกอยางนอยรอยละ
                                                              25 ของลูกจางทั้งหมด จึงจัดตั้งสหภาพแรงงานได
                                                            - เจาหนาที่รัฐมีอำนาจเขาไปในสำนักงานของสหภาพแรงงาน
                                                              เพื่อตรวจสอบกิจการของสหภาพรวมทั้งสั่งใหกรรมการหรือ
                                                              ลูกจางของสหภาพแรงงานสงหรือแสดงเอกสาร หรือบัญชี
                                                              ของสหภาพแรงงานเพื่อประกอบการพิจารณากรณีที่มีปญหา
                                                              เกิดขึ้น




                 3.สิทธิการรวมตัวเปน อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่อง องคกร  - สหภาพแรงงานเอกชนกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ไม
                 สหพันธแรงงาน     คนงาน  มีสิทธิกอตั้งและเขารวม    สามารถรวมตัวเปนสหพันธแรงงาน และสภาองคการ
                                  สหพันธและสมาพันธไดโดยเสรี    ลูกจางได
                                                            - กฎหมายกำหนดใหเฉพาะสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจเขา
                                                              เปนสมาชิกของสภาองคการลูกจางได







               13  http://www.thailabour.org/thai/journal


                 76     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97