Page 93 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 93

4.จำนวนสหภาพแรง- อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่อง สิทธิการ - กำหนดใหรัฐวิสาหกิจแตละแหงมีสหภาพแรงงานไดเพียง
                  งาน ในสถานประกอบ- รวมตัวอยางเสรีของคนงาน     สหภาพแรงงานเดียว  และลูกจางคนหนึ่งจะเปนสมาชิก
                  การเดียวกัน                                    สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดเพียงแหงเดียว



                  5.การหามลูกจางเขา อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่องหลักการ  - ลูกจางซึ่งเปนผูมีอำนาจบังคับบัญชาจะเปนสมาชิกใน
                  เปนสมาชิกสหภาพแรง- รวมตัวอยางเสรีของคนงาน โดยไม    สหภาพแรงงานที่ลูกจางอื่น ไดจัดตั้งหรือเปนสมาชิกอยูไมได
                  งาน               ถูกจำกัดสิทธิ               และลูกจางอื่นจะเปนสมาชิกในสหภาพแรงงานที่ลูกจาง ซึ่ง
                                                                เปนผูบังคับบัญชาไดจัดตั้งหรือเปนสมาชิกอยูไมได
                                                              - ฝายบริหารในรัฐวิสาหกิจและลูกจางซึ่งทำงานอันมีลักษณะ
                                                                เปนครั้งคราว การจร ตามฤดูกาล และตามโครงการไมมีสิทธิ
                                                                เขาเปนสมาชิกสหภาพแรงงานได





                  6. การเลือกที่ปรึกษา อนุสัญญาฉบับ  87  เรื่อง  สิทธิใน - กำหนดใหเลือกที่ปรึกษาในการเจรจาตอรองของสหภาพ
                  ของสหภาพแรงงาน การบริหารงานของสหภาพแรงงาน   แรงงานเฉพาะที่จดทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุมครอง
                                    โดยไมถูกแทรกแซงจากเจาหนาที่   แรงงานเทานั้น
                                    รัฐ


                  7. หลักเกณฑเกี่ยวกับ อนุสัญญาฉบับที่ 87 เรื่องเจาหนาที่ - สหภาพแรงงานเอกชนจะนัดหยุดงานไดตองจัดประชุมใหญ
                  สิทธินัดหยุดงาน   รัฐตองละเวนการแทรกแซงใดๆ     และมีสมาชิกลงคะแนนเสียงอยางนอยกึ่งหนึ่งของทั้งหมด
                                    หรือขัดขวางการดำเนินกิจกรรม    จึงจะสามารถนัดหยุดงานได
                                                              - รัฐมนตรีมีอำนาจใชดุลพินิจสั่งยุติการนัดหยุดงานหรือกำหนด
                                    ของสหภาพแรงงานและขัดกับ     กิจการที่หามใชสิทธินัดหยุดงานได แมในกิจการที่ไมถือวา
                                    อนุสัญญาฉบับที่ 98 เรื่องการแทรก-   เปนบริการที่จำเปน (non-essential service)
                                    แซง  การตอรองโดยหนวยงานรัฐ - หามกิจการรัฐวิสาหกิจทุกประเภทนัดหยุดงาน แมไมใช
                                                                กิจการบริการสาธารณะ


                  8. การคุมครองผูจัดตั้ง อนุสัญญา ฉบับที่ 98 เรื่อง องคกร  - กฎหมายไมไดคุมครองผูดำเนินการกอตั้งสหภาพแรงงาน
                  สหภาพแรงงาน และ   ของคนงานไมไดรับการคุมครอง    อยางชัดเจน
                  การรวมตัวตอรอง   อยางเพียงพอหรือไมถูกแทรกแซง  - กฎหมายไมหามการปดงานเฉพาะกลุมลูกจางที่เปนสมาชิก
                                    ขัดขวางจากนายจาง           สหภาพแรงงาน หรือมีรายชื่อยื่นขอเรียกรองตอนายจาง
                                                                และไมหามนายจางรับคนเขาทำงานแทนลูกจางที่ใชสิทธิ
                                                                นัดหยุดงานอยู
                                                              - ขอแตกตางการคุมครอง "กรรมการลูกจาง" และ "กรรมการ-
                                                                สหภาพแรงงาน" คือ การลงโทษ หรือเลิกจางกรรมการลูกจาง
                                                                ตองไดรับอนุญาตจากศาลแรงงาน ในขณะที่นายจางมีอำนาจ
                                                                เด็ดขาดในการเลิกจางหรือลงโทษกรรมการสหภาพ



                 ที่มาของตาราง : บัณฑิตย ธนชัยเศรษฐวุฒิ, กฎหมายแรงงานสัมพันธไทยที่ไมสอดคลองกับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 87 และ 98 (จากจดหมายขาวแรงงานปริทัศน
                             ฉบับที่ 212 มีนาคม 2548 หนา 3-6), โครงการรณรงคเพื่อแรงงานไทย, ที่มา : http://www.thailabour.org/thai/journal/050503ll.html


                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   77
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98