Page 77 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 77
สิทธิกองทุนเงินทดแทน
เมื่อเจ็บปวยหรือไดรับอุบัติเหตุจากการทำงาน ไดรับสิทธิหรือไม
แรงงานขามชาติทุกคนมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุนเงินทดแทน ในกรณีที่แรงงานเกิดการเจ็บปวย
หรือไดรับอุบัติเหตุจากการทำงาน ไมวาจะมีบัตรหรือไมก็ตาม หากแรงงานเสียชีวิตหรือสูญหาย บุตร
(อายุไมเกิน 18 ป) ภรรยา บิดา มารดา จะเปนผูมีสิทธิรับเงินแทน (พระราชบัญญัติประกันสังคม มาตรา 20)
นายจางมีหนาที่นำแรงงานไปรับการรักษาพยาบาลโดยทันทีตามความเหมาะสมของการเจ็บปวยนั้นๆ
โดยตองรับผิดชอบคาใชจายใหตามความเปนจริง (ในกรณีที่แรงงานไมมีประกันสุขภาพ) แตไมเกินที่
กำหนดไวในกฎกระทรวง และนายจางจะตองจายคารักษาพยาบาลทันทีที่ลูกจางมาแจง
7
กองทุนเงินทดแทน คือ กองทุนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 เพื่อเปนทุนใน
การจายเงินทดแทนใหแกลูกจาง แทนนายจาง เมื่อลูกจางประสบอันตราย เจ็บปวย ถึงแกความตายหรือ
สูญหายเนื่องจากการทำงานใหนายจาง โดยนายจางจายเงินสมทบเพียงฝายเดียว ปละ 1 ครั้ง คิดจาก
คาจางที่นายจางจายใหแกลูกจางทั้งปรวมกัน คูณกับอัตราเงินสมทบของประเภทกิจการนั้น ซึ่งจะจาย
ในอัตราที่ไมเทากัน ระหวางอัตรารอยละ 0.2 -1.0 ขึ้นอยูกับความเสี่ยงภัยตามลักษณะงานของกิจการ
นายจาง โดยนายจางที่มีลูกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไป มีหนาที่จายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทนภายใน 30 วัน
• เมื่อลูกจางประสบอันตราย เจ็บปวย หรือสูญหาย ลูกจางหรือผูมีสิทธิขอรับเงินทดแทน หรือ
หากลูกจางไมพอใจคำสั่ง การประเมินเงินสมทบนั้น ใหมีสิทธิ์อุทธรณได ในกรณีที่เปนลูกจางแบบเหมา
คาแรง ก็มีสิทธิไดรับเงินทุนทดแทน ผูประกอบกิจการซึ่งมิใชนายจางโดยตรงก็รวมรับผิดกับผูรับเหมา
คาแรงซึ่งเปนนายจางในการจายเงินเสมือนหนึ่งเปนนายจาง โดยผูประกอบกิจการมีสิทธิ์ไลเบี้ยเอาแก
นายจางและบรรดาผูรับเหมาคาแรงอื่น หากมีตลอดสายในเงินทดแทน เงินสมทบที่ไดจายใหแกลูกจาง
สิทธิประโยชนที่ลูกจางไดรับตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน
• กรณีเจ็บปวยหรือประสบอันตราย
- คารักษาพยาบาลเทาที่จายจริง แตไมเกิน 35,000 บาท/ครั้ง หากเกิน 35,000 บาท ใหเบิก
ตามหลักเกณฑที่กำหนดเพิ่มอีกไมเกิน 50,000 บาท (รวมเปนวงเงิน 85,000 บาท) และหาก
เกินกวานั้นใหเบิกตามหลักเกณฑแตรวมแลวทั้งหมดตองไมเกิน 200,000 บาท
- กรณีหยุดพักรักษาตัวติดตอกันเกิน 3 วันขึ้นไป ไดรับคาทดแทนรอยละ 60 ของคาจางรายเดือน
ตลอดระยะเวลาที่ไมสามารถทำงานได แตไมเกิน 1 ป
7 พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน 61