Page 81 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 81

ภาคผนวก



                                                              10
                  อนุสัญญาในมาตรฐานแรงงานระหวางประเทศ
                         “องคการแรงงานระหวางประเทศ”  (International  Labour  Organization:  ILO)  กอตั้งใน
                  ป พ.ศ. 2462 พรอมกับสันนิบาตชาติ ภายใตสนธิสัญญาแวรซาย โดยตองการใหรัฐบาล นายจาง และ

                  สหภาพแรงงานรวมกันสรางความยุติธรรมในสังคมและความเปนอยูที่ดีเกิดขึ้นในโลก ตอมาเมื่อมีการยกเลิก
                  สันนิบาตชาติแลวก็ไดกลายเปนองคการชํานัญพิเศษองคการแรกของสหประชาชาติในป พ.ศ. 2489
                  สมาชิกกอตั้งองคการเดิมมี 45 ประเทศ ซึ่งประเทศไทยก็เปนประเทศหนึ่งที่รวมกอตั้ง ILO เมื่อป พ.ศ. 2464
                  ปจจุบัน มีสมาชิก 178 ประเทศ มีอนุสัญญาซึ่ง ผานที่ประชุมใหญ ILO รับรองแลวทั้งหมด 185 ฉบับ

                  และขอเสนอแนะ 195 ฉบับ
                         วัตถุประสงคหลักของ ILO คือ สงเสริมความยุติธรรมในสังคม รับรองและเคารพสิทธิมนุษยชน
                  สนับสนุนใหเกิดความเปนธรรมในการใชแรงงาน  ยกระดับมาตรฐานความเปนอยูที่ดีของลูกจาง  และ
                  ใหความชวยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ป พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ที่ประชุม

                  แรงงานระหวางประเทศซึ่งจัดขึ้น ณ นครฟลาเดลเฟย ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดลงมติรับหลักการสําคัญ
                  ขององคการและไดมีการออกปฏิญญาแหงฟลาเดลเฟย (The Declaration of Philadelphia) ดังนี้

                         • แรงงานมิใชสินคา
                         • เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และการตั้งสมาคมเปนสิ่งจําเปนสําหรับความกาวหนาอันยั่งยืน

                         • ความยากจน ณ ที่หนึ่งที่ใด ยอมเปนปฏิปกษตอความเจริญรุงเรืองทุกหนทุกแหง
                         • มนุษยทุกคนยอมมีสิทธิแสวงหาทั้งสวัสดิภาพทางวัตถุ และพัฒนาการดานจิตใจ ภายใตเงื่อนไข
                            ของเสรีภาพและความภาคภูมิ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและโอกาสทัดเทียมกัน โดยมิได
                            คํานึงถึง เชื้อชาติหรือเพศใดๆ ทั้งสิ้น


                         การดําเนินงานของ ILO เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคขององคการ เพื่อวางนโยบาย และ
                  โครงการระหวางประเทศ เพื่อปรับปรุงสภาวะความเปนอยู และการทํางานเพิ่มพูนโอกาส การมีงานทํา

                  และสงเสริมสิทธิมนุษยชน กําหนดมาตรฐานแรงงานระหวางประเทศ เพื่อใหประเทศสมาชิกใชเปน
                  แนวทางในทางปฏิบัติ และจัดใหมีการฝกอบรม ศึกษา วิจัย และเผยแพรเอกสาร ขอมูลขาวสาร ILO โดย
                  สํานักงานภูมิภาคเอเชียและแปซิฟกไดดําเนินกิจกรรมในประเทศไทยในดานตางๆ เพื่อสงเสริมใหเกิด

                  "งานที่มีคุณคา" คือ ทุกคนมีงานที่สรางรายได ทํางานอยางมีเสรีภาพเทาเทียม มั่นคงและมีศักดิ์ศรีสอด-
                  คลอง กับรัฐธรรมนูญของประเทศไทย กิจกรรมตางๆ ของ ILO จึงครอบคลุมเนื้อหาหลักๆ 4 ประการ คือ


                  10  http://www.labour.go.th/ilo/index.htm





                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   65
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86