Page 76 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 76

ขอ  9    ขอเสนอดานการปรับปรุงศาลแรงงาน
                            1)  ในการไกลเกลี่ยคดีของศาล ควรเปดโอกาสใหผูรอบรูทางดานแรงงาน นัก

              เศรษฐศาสตร และนักสิทธิมนุษยชน มีบทบาทหรือมีสวนชวยงานของศาลดวย
                            2)  ใหศาลแรงงานพิจารณากําหนดคาเสียหายกรณีนายจางละเมิดกฎหมาย หรือ

              การเลิกจางโดยไมเปนธรรมใหสูงกวาที่เปนอยูในปจจุบันนี้ เพื่อใหนายจางพิจารณาเลิกจางโดย

              รอบคอบเปนธรรม
                            3)  ใหศาลแรงงานจัดระบบบริหารคดีเพื่อพิจารณาคดีแรงงานที่มีลักษณะพิเศษ

              หรือมีผลกระทบตอลูกจาง หรือองคกรลูกจางในลักษณะประโยชนสวนรวม หรือที่เกี่ยวของกับ
              สุขภาพของลูกจางเพื่อใหคดีเสร็จโดยรวดเร็ว

                            4)  ในกรณีที่นายจางและลูกจาง ตางฝายตางฟองตอกันและกันในศาลแรงงาน
              และศาลอื่น ตลอดจนการรองเรียนตอหนวยงานตางๆ ใหศาลแรงงานประสานงานไปยังหนวยงาน

              ตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประสานความรวมมือในการแกไขขอขัดแยงดังกลาว
                            5)  คุณสมบัติของผูพิพากษาสมทบ ควรใหทวิภาคีคัดเลือกตัดสินใจกันเอง ไม

              ควรกําหนดวาตัวแทนของลูกจางควรเปนใคร เชน อาจเปนทนายความ หรือผูนําแรงงานอาวุโสก็ได
                            6)  ศาลแรงงานควรมีบทบาทชวยลูกจางที่ฟองคดีในเรื่องอุทธรณตอศาลฎีกาดวย

              ไมใชชวยเฉพาะใหคําแนะนําตอนเขียนฟอง
                            7)  ควรใหสิทธิอุทธรณตอศาลฎีกา ทั้งขอเท็จจริง และขอกฎหมาย เพราะมีแค 2

              ศาล (ศาลแรงงาน กับศาลฎีกาแผนกคดีแรงงาน)  คือใหศาลสูงไดมีโอกาสพิจารณาขอเท็จจริงและ
              ขอกฎหมายไปพรอมกัน

                            8)  ศาลแรงงานควรมีคําพิพากษาไปตามคําขอของคูความ ถาลูกจางตองการกลับ

              เขาทํางาน ขอใหพิพากษาตามที่ลูกจางตองการ ถาลูกจางไมผิด เพราะคนงานตองการความมั่นคงใน
              งานและไดรับการคุมครองสิทธิเสรีภาพอยางมีเกียรติภูมิ มีศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

                            หนวยงานรับผิดชอบ  :  กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
                         คําตอบชี้แจง

                            ขอเสนอดังกลาวเกี่ยวของกับการปรับปรุงแกไขกระบวนการพิจารณาของศาล
              แรงงาน ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ซึ่งปจจุบันอยู

              ในความรับผิดชอบของสํานักงานศาลยุติธรรม


              2.  ขอเสนอแนะจากรายงานการตรวจสอบเรื่องรองเรียนตางๆ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
              แหงชาติ

                     ขอ  1    ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย


                                                                                          73
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81