Page 64 - ประมวลข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้สอดคล้อง
P. 64

ประมวลข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                                                      รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
                                            ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ระหว่าง ตุลาคม ๒๕๕๙ – ธันวาคม ๒๕๖๐

                                      ๓.๒.๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐

                                             มาตรา ๓ วรรคสอง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และ

                  หน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์
                  ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม


                                             มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใด
                  ของกฎหมาย กฎหรือข้อบังคับ หรือการกระท าใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระท านั้น

                  เป็นอันใช้บังคับมิได้

                                             มาตรา  ๒๖  วรรคหนึ่ง การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจ ากัดสิทธิหรือ

                  เสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไข
                  ไว้  กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม  ไม่เพิ่มภาระหรือจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกิน

                  สมควรแก่เหตุและจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจ าเป็น

                  ในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย

                                             มาตรา ๕๗ รัฐต้อง

                                             ฯลฯ


                                             (๒) อนุรักษ์ คุ้มครอง บ ารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มี
                  การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ให้เกิดประโยชน์

                  อย่างสมดุลและยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมด าเนินการและได้รับ
                  ประโยชน์จากการด าเนินการดังกล่าวด้วยตามที่กฎหมายบัญญัติ


                                             มาตรา ๕๘ การด าเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดด าเนินการ
                  ถ้าการนั้นอาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือ

                  ส่วนได้เสียส าคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง  รัฐต้องด าเนินการให้มี

                  การศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให้มี
                  การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องก่อน  เพื่อน ามาประกอบการ

                  พิจารณาด าเนินการหรืออนุญาตตามที่กฎหมายบัญญัติ

                                             บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล ค าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงาน

                  ของรัฐก่อนการด าเนินการหรืออนุญาตตามวรรคหนึ่ง

                                             ในการด าเนินการหรืออนุญาตตามวรรคหนึ่ง  รัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผล

                  กระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพน้อยที่สุด และต้องด าเนินการให้
                  มีการเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ประชาชนหรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมและ

                  โดยไม่ชักช้า




                                                            ๕๒
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69