Page 14 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 14

IX



                    -                             เงินหรือสิ่งของอื่นที่ผู้ต้องขังได้รับจากบุคคลภายนอกจะได้รับการ
                   ปฏิบัติเช่นเดียวกัน

                    -                             แพทย์จะเป็นผู้วินิจฉัยว่า ผู้ต้องขังสามารถน่ายาประจ่าตัวเข้ามา

                   ในเรือนจ่าได้หรือไม่
                                             (๑๕)  การแจ้งเกี่ยวกับการตาย เจ็บป่วย หรือการโอนตัวผู้ต้องขัง

                    -                             คู่สมรส หรือญาติของผู้ต้องขังจะได้รับการแจ้งว่าผู้ต้องขัง

                   ถึงแก่ความตาย หรือเจ็บป่วยอย่างหนัก หรือการส่งตัวผู้ต้องขังไปยังเรือนจ่าเพื่อบ่าบัดทางจิต
                    -                             ผู้ต้องขังจะได้รับการแจ้งข่าวการตาย หรือเจ็บป่วยอย่างหนักของ

                   ญาติสนิทของตนในกรณีที่ญาติเจ็บป่วยอาการหนักมาก ผู้ต้องขังมีสิทธิได้รับอนุญาตให้ไปเยี่ยมได้
                    -                             ผู้ต้องขังทุกคนมีสิทธิแจ้งให้ครอบครัวของตนทราบในทันทีที่ถูกส่ง

                   ตัวไปในเรือนจ่าหรือเมื่อถูกโอนไปยังเรือนจ่าอื่น
                                             (๑๖) การย้ายผู้ต้องขัง

                                                 - การย้ายผู้ต้องขังเข้าหรือออกเรือนจ่า พึงระวังให้อยู่ในสายตาของ

                   ประชาชนน้อยที่สุดและการควบคุมจะต้องกระท่าไปในทางที่มิให้ผู้ต้องขังได้รับการดูหมิ่นหรือเหยียดหยาม
                    -                             ยานพาหนะที่ใช้ล่าเลียงผู้ต้องขัง ทางราชการต้องเป็นผู้เสีย

                   ค่าใช้จ่าย

                                             (๑๗)   การตรวจเรือนจ่าควรให้ผู้ตรวจราชการที่ทรงคุณวุฒิและ
                   ช่านาญงานไปตรวจเรือนจ่าอย่างสม่่าเสมอ และผู้มีอ่านาจบริหารตามกฎหมายเป็นผู้แต่งตั้งผู้ตรวจราชการ

                   เรือนจ่าให้มีหน้าที่โดยเฉพาะในการตรวจก็เพื่อให้เรือนจ่าบริหารงานไปตามกฎหมายและข้อบังคับที่ตราไว้

                   และตรงตามความมุ่งหมายของการลงโทษและวิธีการอบรมแก้ไข
                                 อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติปรากฏข้อเท็จจริงให้เห็นอยู่เนืองๆ เกี่ยวกับการกระท่า

                   อันก่อให้เกิดผลกระทบหรือเป็นการรุกล้่าสิทธิในความเป็นส่วนตัวในประเทศต่างๆ โดยทั่วไปส่าหรับ
                   ประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน มีการกระท่าในลักษณะต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการกระท่าซึ่งกระทบ

                   ต่อสิทธิในความเป็นส่วนตัวของบุคคล และน่ามาซึ่งปัญหาในการตรวจสอบและพิจารณาของคณะกรรมการ

                   สิทธิมนุษยชนแห่งชาติของประเทศไทยว่าการกระท่านั้นๆ เป็นการกระท่าโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือ
                   ในทางตรงกันข้ามเป็นการกระท่าอันเป็นการละเมิดสิทธิในความเป็นส่วนตัวของบุคคลซึ่งขัดต่อสิทธิมนุษยชน

                   ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
                                 การศึกษาวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาบทบัญญัติของกฎหมายระหว่างประเทศ

                   กฎหมายของประเทศไทยและของต่างประเทศที่เกี่ยวกับการการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็น

                   ส่วนตัว ตลอดจนการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระท่าอันอาจเป็นการ
                   ละเมิดสิทธิในความเป็นส่วนตัวผ่านคดีและเรื่องร้องเรียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน่าผลการศึกษาวิเคราะห์

                   มาก่าหนดขอบเขตและแนวทางในการใช้อ่านาจตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                   เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของบุคคล ทั้งนี้ เพื่อให้ความคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัวของ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19