Page 218 - แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน : วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 218

วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา   217



                                                         บรรณานุกรม

                     ภาษาไทย
                     ชลธิรา สัตยาวัฒนา, บรรณาธิการ. 2546. พลวัตสิทธิชุมชน กระบวนทัศน์ทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ:
                            ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

                     ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. 2542. “สิทธิมนุษยชน: สิทธิ ‘สากล’ เพื่อการปลดปล่อยสู่อิสรภาพ”. ใน สิทธิมนุษยชน
                            เกณฑ์คุณค่าและฐานความคิดของเสน่ห์ จามริก, ศรีประภา เพชรมีศรี (บรรณาธิการ). พิมพ์ครั้งที่ 2.
                            กรุงเทพฯ:  มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ และโครงการจัดตั้ง
                            สํานักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

                     ตรีศิลป์ บุญขจร. 2553. “วรรณคดีศึกษาในสภาวะวิกฤตสังคมไทยและสังคมโลก: การวิจารณ์แนวนิเวศสํานึก.”
                            เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการระดับอุดมศึกษา วรรณกรรมศึกษา: วิจารณทัศน์
                            ของนักวิชาการร่วมสมัย จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วันที่ 31 กรกฎาคม 2553.

                     เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์. 2548. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการประจําปี 2548 เรื่อง สู่สังคมสมานฉันท์.
                            กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการจัดการทางสังคม.
                     เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์. 2549. การจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                            โดยสันติวิธี. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

                     บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์. 2550. “พ.ร.บ. ป่าชุมชนฉบับสนช. สัญญาณอันตรายสําหรับการเมืองภาคประชาชน.”
                             มติชนรายวัน. วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม: หน้า 9.
                     ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. 2549. คนกับป่า: มุมมองจากรากหญ้า. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

                     ธัญญา สังขพันธานนท์. 2553. วรรณกรรมวิจารณ์เชิงนิเวศ: วาทกรรมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในวรรณกรรมไทย.
                            วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
                     ธัญญา สังขพันธานนท์. 2553. “การศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในวรรณกรรมเชิงนิเวศ.” ใน ปากไก่ ฉบับ โลกนัก

                            อ่าน บ้านนักเขียน. (5 พฤษภาคม) กรุงเทพฯ: สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย.
                     ยศ สันตสมบัติและคณะวิจัย. 2547. นิเวศวิทยาชาติพันธุ์ ทรัพยากรชีวภาพและสิทธิชุมชน. เชียงใหม่: วิทอินดีไซน์ จํากัด.
                     วัธนา บุญยัง. 2542. หอมกลิ่นป่า. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.

                     วัธนา บุญยัง. 2543. ใบไม้ร่วงในป่าใหญ่. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.
                     วัธนา บุญยัง. 2545. รอยยิ้มในป่าใหญ่. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.
                     วัธนา บุญยัง. 2546. พรานคนสุดท้าย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.
                     วัธนา บุญยัง. 2546. ไพรมืด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.

                     วัธนา บุญยัง. 2547. คนกับต้นไม้. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.
                     วัธนา บุญยัง. 2552. รางเหล็กในป่าลึก. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ.
                     วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์ (บรรณาธิการ). 2536. สิทธิชุมชนการกระจายอํานาจจัดการทรัพยากร. กรุงเทพฯ:

                            สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223