Page 246 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 246
บทที่ 4 เพศวิถี: เรื่องเพศ 231
จากรายงานการวิจัยตางๆ เกี่ยวกับสถานการณในเรื่องเพศในกลุมเยาวชนที่จัดทํา
โดยหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งมักแสดงใหเห็นถึงความกังวลใจของ
ผูใหญในสังคมตอพฤติกรรมทางเพศของเยาวชน หรือความหวาดกลัววาเด็ก
และเยาวชนจะกลายเปนผูเสพติดเซ็กส จากการที่แพทยและนักจิตวิทยาตาง
ออกมาใหขอมูลความรูเกี่ยวกับอาการเสพติดเซ็กสของเยาวชนวาสัมพันธกับ
พฤติกรรมการชอบชวยตัวเองหรือมีกิจกรรมทางเพศบอยๆ กับคู การมีคูนอน
หลายคน มีความตองการทางเพศสูง การใหความสําคัญกับเซ็กส การชอบดูสื่อ
หนังสือโป การตูนโป หรือหนังโป การพูดคุยในกลุมเพื่อนและกับคนใกลชิด
17
เกี่ยวกับความตองการทางเพศ การเลาเรื่องขําขันที่มีเรื่องเพศเจือปน ฯลฯ
ตัวอยางเชน รายงานผลการสํารวจทัศนคติเกี่ยวกับเรื่องชีวิตกับ
ความรักของเยาวชนป พ.ศ. 2548 รายงานสถานการณสุขภาพเด็กและ
เยาวชนและครอบครัวในป พ.ศ. 2549 รายงานขอมูลสถานการณเรื่องเพศ
ในกลุมเยาวชนอายุ 18-19 ปในป พ.ศ. 2549 ของสถาบันวิจัยประชากรและ
สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และรายงานสถานการณดานเอดสของประเทศไทย
ลวนตอกย้ําแนวคิดกระแสหลักดานการเฝาระวัง กํากับและควบคุมพฤติกรรม
ทางเพศที่เสี่ยงของเยาวชน โดยขอมูลจากงานวิจัยเหลานี้ไมเพียงถูกรองรับดวย
ชุดความรูความจริงเชิงวิชาการดานวิทยาศาสตรการแพทย หากยังสะทอนวิธีคิด
เรื่องประชากรศาสตรที่คํานึงถึงคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยของประชากร
ดวย ดังจะเห็นไดจากคํากลาวที่วา “ทําใหประเทศไทยมีอัตราการคลอดบุตรใน
เยาวชนอายุต่ํากวา 19 ป สูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต”
ทั้งหมดนี้ขัดแยงกับความเชื่อแตเดิมวาเด็กและเยาวชนไรเดียงสาใน
เรื่องเพศ ซึ่งสงผลอยางยิ่งตอการกําหนดเนื้อหาในการใหความรูเรื่องเพศศึกษา
กับเยาวชน เนื่องจากเกรงวาถาใหความรูเรื่องเพศอยางเปดกวาง จะกลายเปน
การชี้นําใหเยาวชนมีเพศสัมพันธเร็วขึ้น สังคมจึงไดพยายามรณรงค และสราง
มาตรการออกมากํากับควบคุมเรื่องเพศของเยาวชนในทุกวิถีทางเพื่อปกปอง
17 โรคติดเซ็กส. เว็บไซต <http://th.uncyclopedia.info/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%
B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%
87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C>
มลฤดี ลาพิมล