Page 243 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 243

228  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     สุขภาพทางเพศ เชน ความเชื่อที่วา “การที่ผูหญิงรีบถาย-
                                     ปสสาวะและลางทันทีหลังการรวมเพศ จะปองกันการตั้งครรภ
                                     ได” ทําใหผูหญิงมีโอกาสเสี่ยงตอการรับเชื้อโรคติดตอทาง

                                                            11
                                     เพศสัมพันธ และโรคเอดสได...”

                                     “เรื่องเพศ” ที่เกี่ยวของกับเสรีภาพทางเพศและความเทาเทียมทางเพศ
                               เชน


                                           “...ขึ้นอยูกับวาในทุกวันนี้เก็บกดอยูไวหรือเปลา ถาใชก็
                                     คงเปนการดีที่จะไดเปดเผยเสีย เพื่อเปนการปลดปลอย แต
                                     ขาพเจาคิดวามันอาจไมไดเปนอะไรที่จําเปนมากมายขนาดนั้น

                                     การเปดเผยเกี่ยวกับเรื่องเพศกับความไมเทาเทียมทางเพศก็ไม
                                     เหมือนกัน ซึ่งถึงแมวันพรุงนี้ผูหญิงเราๆ เปดเผยเรื่องเพศได
                                     อยางเสรี แตเรื่องปญหาความเทาเทียมทางเพศเดิมๆ ก็ไมใชวา

                                     จะหายไป เพราะฉะนั้น มันจะมีประโยชนอะไร”
                                                                        12


                                     “เรื่องเพศ” ที่เกี่ยวของกับความสุขและความพึงพอใจทางเพศ อารมณ
                               และความตองการทางเพศ ความสามารถทางเพศ เชน


                                           “ทานผูอานทราบหรือไมวา ปญหาเรื่องเพศ เชน การมี
                                     ความตองการทางเพศนอย ไมมีความสุขความพึงพอใจจากการ
                                     มีเพศสัมพันธ การหยอนสมรรถภาพทางเพศ การหลั่งน้ํากาม

                                     เร็ว ไมสามารถหลั่งน้ํากามขณะรวมเพศ ไมบรรลุจุดสุดยอด
                                     ทางเพศ กามตายดาน สตรีมีความเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ



                               11  กอบกาญจน มหัทธโน. คูมือการอบรมคายแกนนํามุมเพื่อนใจวัยรุน. กองอนามัยการเจริญพันธุ
                                 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2547.
                               12  ปะกัง ผูหญิงไทยกับเรื่องทางเพศ ควรเปดเผยดีหรือไม. โพสต เมื่อ 29 มิ.ย. 2546. <http://board.
                                 dserver.org/v/vogel/00000069.html>

                                                         มลฤดี ลาพิมล
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248