Page 219 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 219
202 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
โป ก. สงเสริมสิ่งที่บกพรอง เชน ยาโป, ทําสิ่งที่ยัง
บกพรองอยูใหสมบูรณ เชน เอาสีโปตรงที่เปนชองเปนรู
กอนทาสีเอาปูนโปรอยที่ชํารุด. (ปาก) ว. เปลือยหรือคอนขาง
เปลือย เชน รูปโป, มีเจตนาเปดเผยอวัยวะบางสวนที่ควร
ปกปด เชน แตงตัวโป.
ในแงของความหมายที่เกี่ยวของกับเรื่องเพศ ไมเปนที่ชัดเจนวา คําวา
“โป” ถูกนํามาใชในเชิงความหมายของการเปนสื่อกระตุนเราอารมณทางเพศ
ตั้งแตเมื่อไร อยางไรก็ตามคําๆ นี้ไดถูกนํามาใชรวมกับสื่อตางๆ ตั้งแตสื่อสิ่งพิมพ
อยางหนังสือ นิตยสาร อัลบั้มภาพ การตูน มาจนถึงสื่ออิเลคทรอนิคส เชน
เว็บไซต วิซีดี ดีวีดี คลิปวิดีโอ เปนตน นอกจากนี้ยังเปนคําที่ใชกันอยาง
แพรหลายในชีวิตประจําวัน เมื่อกลาวถึงการแตงตัว รวมถึงการพูดคุยที่มีนัย
เกี่ยวกับการปกปด หรือเปดเผยเรื่องเพศ และการเปลือยที่กระตุนใหเกิด
อารมณเพศที่จะนําไปสูการมีเพศสัมพันธ
โดยสวนใหญแลวการใชคําวา “โป” ในความหมายเกี่ยวของกับเรื่องเพศ
มักมีนัยคอนไปในทางลบ เปนการตําหนิ หรือบงชี้ถึงความไมเหมาะไมควร
เพราะคานิยมในสังคมไทยถือวา เรื่องเพศเปนเรื่องสวนตัว และการมี
เพศสัมพันธควรเปนไปเพื่อการสืบพันธุ หรือเพื่อความรักในกรอบการแตงงาน
แบบผัวเดียวเมียเดียวเทานั้น การเปดเผยอวัยวะที่ควรปกปด การพูดคุย
เรื่องเพศในที่สาธารณะ การแสดงออกซึ่งอารมณความตองการทางเพศ
ในแงของความสุขความพึงพอใจนั้นถือเปนเรื่องไมเหมาะสม สื่อที่นําเสนอภาพ
กึ่งเปลือยหรือภาพเปลือย จึงถูกประทับตราวาเปน “สื่อยั่วยุทางเพศ”
และเปนตนเหตุของอาชญากรรมทางเพศทั้งหลาย ทําใหสื่อโปถูกผลักใหกลาย
เปนสื่อผิดกฎหมาย ไมสามารถเผยแพร หรือวางจําหนายไดอยางเปดเผย
จนผูขายตองแอบขายแบบหลบๆ ซอนๆ ดวยการกระซิบถามลูกคาวา “พี่...พี่…
โปมั้ยพี่?”
สุไลพร ชลวิไล