Page 14 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 14

viii   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               เชิงปฏิบัติ ซึ่งทําหนาที่เหมือนกลไกการควบคุมภายในที่ถูกโปรแกรมไวภายใต
                               วิธีคิดของเรา ใหเราปรับการกระทําและพฤติกรรมตางๆ โดยที่เราไมรูตัว
                                     โครงการวิจัยในการวิเคราะหคําสําคัญๆ เรื่องเพศและเพศวิถี ทําใหเรา

                               เกิดการตรวจสอบ สํารวจ วิเคราะหอยางเปนระบบและรูเนื้อรูตัวถึงมิติตางๆ
                               ของเพศวิถี อันไดแก 1) วัฒนธรรมทางเพศของสังคมไทย อันไดแก ความคิด

                               ความเชื่อและการใหความหมายและการปฏิบัติในเรื่องเพศ ซึ่งทําใหเห็นมิติทาง
                               สังคมและวัฒนธรรมอื่นๆ อันไดแก ระบบเพศภาวะ ชนชั้น ความเปนชาติพันธุ
                               คานิยม โลกทัศนของผูคนในสังคม 2) การเปรียบเทียบความแตกตางหลากหลาย
                               ของความคิด ความเชื่อ การใหความหมายและวิถีปฏิบัติในเรื่องเพศวิถีของ

                               บุคคลหรือกลุมบุคคลตางๆ 3) การศึกษาขามวัฒนธรรมหรือทองถิ่นกับการ
                               ประกอบสรางทางสังคมของวัฒนธรรมทางเพศและเพศวิถี และผลกระทบตอ
                               สิทธิและสุขภาวะทางเพศของบุคคล ตลอดจนการจัดบริการสุขภาพ 4) อํานาจ

                               ของภาษาในการเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อ การใหความหมายและ
                               การปฏิบัติเรื่องเพศของคนในสังคม
                                     “ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ” เปน
                               โครงการวิจัยเรื่องคําสําคัญๆ ในเรื่องเพศวิถีและเพศภาวะที่ใชกันอยูใน

                               ชีวิตประจําวัน โดยทําความเขาใจถึงที่มาหรือประวัติศาสตรของคําตางๆ
                               เหลานี้ นอกจากนั้นทีมนักวิจัยยังไดวิเคราะหคําบางคําถึงใครหรือกลุมใด
                               เปนผูคนคิดคํา เพื่อวัตถุประสงคอะไร ความหมายของคําทั้งที่เปนความหมาย

                               ชัดเจนและความหมายซอนเรน คํานั้นๆ ถูกใชกับใคร ในบริบทใด โดยวิเคราะห
                               ใหเห็นถึงผลตอชุดความคิดความเชื่อ การใหความหมายและการปฏิบัติในเรื่อง
                               เพศวิถีและเพศภาวะของคนในสังคม ตลอดจนสิทธิและสุขภาวะทางเพศ

                               และอนามัยการเจริญพันธุ ตลอดจนการจัดบริการสุขภาพ รวมทั้งการเชื่อมโยง
                               และกลาวถึงคําอื่นๆ ที่มีความหมายเชื่อมโยงกับคําศัพทที่ผูวิจัยเริ่มตน
                               วิเคราะห










                                                       พิมพวัลย บุญมงคล
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19