Page 11 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 11
คํานํา v
คํานํา
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนองคกรที่ทําหนาที่สงเสริม
คุมครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และกติกาขอตกลงระหวาง
ประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี โดยตระหนักถึงสิทธิ
มนุษยชนที่สัมพันธกับวิถีชีวิตของบุคคลที่มีความแตกตางและหลากหลาย
วิถีชีวิตทางเพศ หรือ “เพศวิถี” (Sexual Orientation) ของบุคคลใน
สังคมเปนสิ่งที่ไดรับอิทธิพลจากระบบความเชื่อ คานิยม ทัศนคติของบุคคล
และ วัฒนธรรมประเพณี ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย จากคนรุนหนึ่งไปยัง
อีก รุนหนึ่ง
“เพศวิถี” และ “ภาษา” ของบุคคลที่มีความแตกตางหลากหลาย มี บท
บาทสําคัญอยางยิ่งในการถายทอดระบบวิธีคิด คานิยม และวัฒนธรรม อีก
ทั้งยังเชื่อมโยงกับแงมุมความเปนมนุษยในหลายมิติ ที่สะทอนใหเห็นถึงความ
คิด ความเชื่อของบุคคลภายใตโครงสรางอํานาจในสังคมที่ไมเทาเทียมกัน
ระหวางเพศ
หนังสือ “ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ”
เลมนี้เรียบเรียงจากรายงานการศึกษาวิจัยเรื่องคําศัพทที่เกี่ยวของกับเพศภาวะ
เพศวิถี ที่ใชกันอยูในชีวิตประจําวัน โดยทําความเขาใจถึงที่ไปที่มาของคํา
ความหมายของคําแตละคําในชวงเวลาตางๆ รวมไปถึงคําอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
รวมทั้งกลุมคนที่เปนผูริเริ่มหรือนิยมใชคําศัพทนั้นๆ เพื่อวิเคราะหถึงระบบ
ความเชื่อและความหมายของเพศวิถี เพศภาวะ วัฒนธรรมที่แฝงอยูในคําๆ นั้น
โดยเชื่อมโยงไปสูมิติเรื่องสุขภาวะทางเพศ อนามัยเจริญพันธุและสิทธิทางเพศ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ขอขอบคุณ คณะอนุกรรมการ
ดานสงเสริมโอกาสและความเสมอภาค รศ. ดร. พิมพวัลย บุญมงคล และ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ