Page 141 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 141
124 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
อยางไรก็ตามปฏิบัติการทางภาษาของคําวา “ตุย” ผานสื่อใชวา
จะแฝงไปดวยมายาคติ และภาพตัวแทนเพียงอยางเดียว เนื่องจากในเวลา
เดียวกันคําวา “ตุย” เองก็มีคุณูปการในการนําเสนอชุดความจริงที่วา ผูถูก
กระทําความรุนแรงทางเพศมักเปนผูที่ไรซึ่งอํานาจในการตอรอง ปฏิเสธ
หรือปองกันตัว ในระบบโครงสรางวัฒนธรรมไทย นั่นคือ เด็ก ผูใตบังคับบัญชา
ลูกศิษย ลูกหลาน รุนนอง ผูที่มีความอาวุโสนอยกวา และคนที่มีสถานะ
ทางสังคมและเศรษฐกิจที่ต่ํากวา เปนตน คนในสังคมจึงควรเกิดความตระหนัก
รูเทาทัน ระมัดระวังตอบริบทที่จะกอใหเกิดความรุนแรงทางเพศ ซึ่งก็เสมือน
การทาทาย และตั้งคําถามตอระบบโครงสรางของสังคมวัฒนธรรมไทยที่ยังคง
เปนระบบที่ไมมีความเทาเทียมกัน
ภาษาของการตอสู และนัยตอสุขภาวะทางเพศ
คําหรือภาษาใหมๆ ที่ชายรักชายสรางขึ้นเพื่ออธิบายถึงรูปแบบเพศวิถี
ของตน และใชเพื่อการสื่อสารกันภายในกลุมตนเปนคําศัพทที่มีความหมาย
เฉพาะ ซึ่งสามารถเกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงความหมาย หรือสูญหายไปไดตลอดเวลา
โดยภาษาที่ชายรักชายใชในการสื่อสารกับสังคมโดยรวมนั้น สวนใหญเปนคํา
ที่ไมมีนัยของการบังคับ ไมบงบอกการใชกําลัง แตบอกถึงวิธีปฏิบัติ หรือ
พฤติกรรมแทน เชน คําวา ซิก เสียบ หรือ โอเยห (มาจากเสียงครางในภาษา
อังกฤษที่แสดงถึงความพึงพอใจ oh yeah! เมื่อมีเพศสัมพันธ) หรือ เย ที่มา
จากการยอคําวา “เย็ด” ที่เปนคําไทยที่บอกถึงการมีเพศสัมพันธ นอกจากนี้
ยังมีคําอีกหลายคําที่ฟงดูขบขันหรือนาเอ็นดู เชน โดะ โจะ หรือ นั่งเทียน
ซึ่งเปนทานั่งครอมและสอดใสทางทวารหนัก หรือ สบูตก เก็บสบู ซึ่งมีที่มา
จากฉากในหนังฝรั่งบางเรื่องในตอนที่นักโทษชายทําสบูตกแลวกมลงไปเก็บ
ซึ่งเปนการสงสัญญาณใหทราบถึงความพรอมที่จะมีความสัมพันธ หรือ
รณภูมิ สามัคคีคารมย