Page 140 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 140
สวนที่ 3 การปฏิบัติทางเพศ: ตุย 123
มุมมองเชนนี้เองที่ทําใหสังคมไทยไมมีคําอธิบายพฤติกรรมทางเพศของ
ชายรักชายอยางเปนกลาง หากมีเพียงคําเรียกตัวตน พฤติกรรมที่เต็มไปดวย
อคติทางเพศ อยางเชนคําวา “ตุย” เปนตน
อยางไรก็ตามยิ่งสังคมจับจอง และเฝาระวังพฤติกรรมทางเพศของ
ชายรักชายมาเทาไร ก็ยิ่งทําใหภาพตัวแทนและมายาคติเหลานี้มีอิทธิพล
มากขึ้นเทานั้น
“หนุมแคน-เมาหลับ ถูกเกยลัก “ตุย” รัวยิงไมยั้งตายคา
6
ตลาด”
“ปนี้ปเสือไบ จากตุยซี 8 ตนตํารับถึงครูตุย น.ร.ยกชั้น
7
พอตุยลูก ด.ช. 4 ขวบ”
8
“ครูรับตุยเด็ก เคยอกหักเกลียดผูหญิง”
ภาพตัวแทนและมายาคติของคําวา “ตุย” เหลานี้ ไดถูกตอกย้ําผาน
ปฏิบัติการทางภาษา และนํามาซึ่งมุมมองความเขาใจผิดในเรื่องเพศของชายที่
มีเพศสัมพันธกับชายวา เปนกลุมที่มีแนวโนมจะกระทําความรุนแรงทางเพศ
มากกวากลุมอื่น เนื่องจากในความเปนจริงแลวไมวาใครที่มีเพศภาวะ หรือมี
เพศวิถีแบบใดก็สามารถจะกระทําความรุนแรงทางเพศไดทั้งสิ้น ทั้งนี้เพราะการ
กระทํารุนแรงทางเพศนั้นมีที่มาจากเรื่องของชุดวิธีคิดเรื่องการใชอํานาจ การไม
เคารพในสิทธิเนื้อตัวรางกาย สิทธิทางเพศ รวมถึงสิทธิมนุษยชนของผูอื่น ใน
เวลาเดียวกันไมวาใคร เพศภาวะใดก็สามารถถูกกระทําไดดวยเชนกัน หากคน
เหลานั้นตกอยูภายใตบริบทของความไมเทาเทียมกันของอํานาจ และการไม
เคารพซึ่งสิทธิของกันและกัน
6 ขาวสด, 11 ก.พ. 2547.
7 ขาวสด, 1 มีนาคม 2541.
8 มติชนรายวัน, 19 มีนาคม 2541.
รณภูมิ สามัคคีคารมย