Page 242 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 242

ไปแจงความไวที่สถานีตำรวจภูธรอำเภอไทรโยค เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๘ ดวย ตอมาวันที่ ๑๒
               สิงหาคม ๒๕๔๘ เจาหนาที่อุทยานฯ นำคนเขาไปปลูกปาเฉลิมพระเกียรติในพื้นที่ดังกลาว ปจจุบันสวนปา
               ถูกปลอยใหเสื่อมโทรมไมมีผูดูแลรักษา โดยผูรองก็ไมกลาเขาไปเชนกัน
                      การที่เจาหนาที่อุทยานแหงชาติไทรโยค ไดเขาไปกระทำดังกลาวนั้น ผูรองไมไดรับทราบลวงหนา

               มากอน และผูใหญบานหมูที่ ๕ ไมเคยแจงหรือบอกกลาวใหทราบลวงหนาเลย เพียงแต ผูรองไดทราบภาย
               หลังวาไดมีประกาศของอุทยานแหงชาติไทรโยค และไดมีการปดประกาศไวที่บานผูใหญหมู ๕ ตำบล
               วังกระแจะ และหลังจากเกิดเหตุแลวตนยางพาราของผูรองที่ถูกถอนไมทราบวา เจาหนาที่ไดนำไปทำลาย
               หรือนำไปใชทำประโยชนสวนตัวหรือไม
                      สำหรับแปลงตรวจยึดที่เจาหนาที่ปาไม ชี้แจงวา เปนคนละแปลงกับแปลงที่ผูรองแจงครอบครองไว
               ๑๕๐ ไร ผูรองยืนยันวาพื้นที่ตรวจยึดบางสวนทับซอนอยูในแปลงที่ผูรองไดทำกินมา ตั้งแตป ๒๕๔๐ จนมา
               รื้อปลูกยางพาราเมื่อป ๒๕๔๘ ผูรองจึงเห็นวาแปลงที่ถูกยึดและแปลงทำกิน เปนแปลงผืนเดียวกันหมด สวน
               ประเด็นเรื่องความลาดชัน ที่คณะทำงานฯ ตามคำสั่งแตงตั้งของจังหวัดกาญจนบุรี ระบุวา พื้นที่ที่ผูรองถูก
               จับกุม ๒ แปลงนั้น เปนพื้นที่ในเขตควบคุมที่มีความลาดชัน ๓๕ เปอรเซ็นต แตสภาพพื้นที่จริงไมนาจะเปน

               พื้นที่ลาดชัน และผูรองเปนชาวบานจึงไมสามารถทราบไดวาความชันเทาไร แตยืนยันวาไดทำกินในที่เดิมมา
               ตลอด ผูรองไดอางถึงแบบบันทึกการใชที่ดินของบุคคลในพื้นที่ปาไม (แบบ ทป.๔) เจาพนักงานปาไมระบุ
               สภาพพื้นที่โซนซี ชั้นลุมน้ำ ๓ ลักษณะภูมิประเทศ ที่ราบ ความลาดชัน ๗ องศา ขอมูลจึงไมตรงกันและ
               ทำใหผูรองสับสน
                      ผูรองไดแสดงรูปแผนที่ประกอบเพื่อแสดงยืนยันวาพื้นที่จับกุม และพื้นที่ทำกินมาแตเดิมเปนแปลง
               เดียวกัน แตลงปลูกพืชตางปกัน และพื้นที่จับกุมแปลง ๑๕ ไร ทับซอนอยูบนพื้นที่ทำกินบางสวนของบุตร ๓
               คนของผูรอง ผูรองยืนยันวาหากรูแนวเขตอุทยานฯ ชัดเจน จะไมกลาบุกรุกที่อุทยานฯ อยางแนนอน แต

               ยืนยันวาครอบครัวผูรองไดทำกินในพื้นที่เทาที่เคยทำกินมากอนเทานั้น สวนไมยางนาที่หัวหนาอุทยานฯ
               อางถึงวาเปนพื้นที่ปานั้น ตนยางนาอยูติดบานผูรอง ผูรองรูวาโคนไมได จึงไมไดโคน แตเปลี่ยนจากพืชไรอื่น
               มาปลูกยางพาราเทานั้น
                      ๓) การเลือกปฏิบัติ
                      ผูรองเห็นวาการกระทำของเจาหนาที่อุทยานแหงชาติไทรโยคภายใตการนำของนายสวัสดิ์ อั้นเตง
               ครั้งนี้ ทำใหผูรองไดรับความเดือดรอนเพราะตองสูญเสียตนทุนในการปลูกยางพาราของครอบครัวไปทั้งหมด
               การปฏิบัติการของผูถูกรอง พรอมดวยเจาหนาที่ครั้งนี้เปนการปฏิบัติที่ไมเปนธรรมอยางยิ่ง และเปนการ
               จงใจเลือกปฏิบัติเฉพาะครอบครัวของผูรองเพียงครอบครัวเดียว ยังมีอีกหลายรายที่ครอบครองที่ดินและทำ
               ประโยชนเชนเดียวกับผูรองในที่ดินบริเวณเดียวกันและใกลเคียงกับผูรอง แตยังสามารถปลูกพืชและสวนยาง

               พาราไดเปนปกติ แตเจาหนาที่อุทยานฯ ไมไดดำเนินการใดๆ กับผูครอบครองที่ดินและทำประโยชนรายอื่น
               ในบริเวณเดียวและใกลเคียงกัน เชน
                      ๑. บริษัท โลวเฮงหมง        ครอบครองพื้นที่ไมนอยกวา  ๕๐๐  ไร
                      ๒. นางติ๋ม ศรีบัวทอง        ครอบครองพื้นที่         ๒๕  ไร
                      ๓. นายประเทือง บูวอ        ครอบครองพื้นที่         ๕๐  ไร
                      ๔. นายสุชาติ บุญเชิด (ผูใหญหมู ๕) ครอบครองพื้นที่   ๑๐๐  ไร
                      ๕. นายสมพร สมลือแสน         ครอบครองพื้นที่         ๒๐  ไร


                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   241
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247