Page 239 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 239

•  นายสุชาติ บุญเชิด ผูใหญบานหาดงิ้ว หมู ๕ ตำบลวังกระแจะ อำเภอไทรโยค ชี้แจงวา

                        บริเวณที่เจาหนาที่อุทยานแหงชาติตรวจยึดเปนบริเวณเดียวกันกับที่ผูรองขอความเปนธรรม
                        ซึ่งที่ดินทั้ง ๒ แปลงดังกลาว ไมไดมีการแจงสำรวจถือครองพื้นที่ปาไมตามมติคณะรัฐมนตรี
                        เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ พื้นที่ดังกลาวยังมีสภาพเปนปาอยู สวนบริเวณที่ผูรองอางวา
                        มีการครอบครองพื้นที่บริเวณใกลเคียงอีก ๕ ราย แตเจาหนาที่ไมมีการจับกุม เนื่องจากพื้นที่
                        เหลานั้น บางรายมีเอกสารสิทธิ และมีการแจงการครอบครองพื้นที่ปาไมตามมติคณะรัฐมนตรี
                        ดังกลาวไวแลว
                       •  เจาหนาที่สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ ๓ แจงวาบริเวณที่ผูรองขอความเปนธรรม ไมไดมีการ

                        แจงการถือครองพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเปนสภาพปาและมีความ
                        ลาดชันเกิน ๓๕% และไมมีรองรอยการครอบครองทำกินมากอน สำหรับพื้นที่รายอื่นจำนวน
                        ๕ รายที่ผูรองอางถึง ที่เจาหนาที่ไมดำเนินการจับกุมนั้น ไดมีการสำรวจรังวัดสอบสวนสิทธิ
                        ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ ไวแลวโดยมีนายสุชาติ บุญเชิด ผูใหญบาน
                        เปนผูนำชี้
                      ๓.๒ จังหวัดกาญจนบุรี มีหนังสือที่ กจ ๐๐๑๖.๓ / ๑๓๙๑๙ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๙ แจงผล

            การดำเนินการกรณีรองเรียนของผูรอง ตามมติที่ประชุมจังหวัดรวมกับคณะอนุกรรมการ เมื่อวันที่ ๒๑
            มีนาคม ๒๕๔๙ โดยแสดงเอกสารหลักฐานของคณะทำงานตรวจสอบขอเท็จจริง ตามคำสั่งจังหวัดกาญจนบุรี
            ที่ ๖๓๗/๒๕๔๙  ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ สรุปได ดังนี้
                      (๑) บันทึกการตรวจสอบ ลงวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๙ ซึ่งผูรองไดลงนามในบันทึกการตรวจสอบ
            ดวย สรุปวา ผูรองไดเขาทำมาหากินในที่อยูปจจุบันตั้งแตป ๒๕๑๒ โดยไดบุกเบิกที่ทำกินไป ๕๐ ไร ในชวง
            บุกเบิกพื้นที่แหงนี้มีสภาพเปนปาไมไผไรผสมไมใหญ เชนไมซาน ไมตะแบก ไมมะขามปอม ผูรองไดทำ
            ประโยชนดวยการปลูกขาว กลวย นุน ขนุน และมะนาว จนเต็มพื้นที่ ผูรองทราบวาพื้นที่แหงนี้เปนปาสงวน
            แหงชาติจึงไดขออนุญาตใช และตอมาไดเพิ่มพื้นที่ใชประโยชนอีกครั้งในป ๒๕๑๔ ประมาณ ๑๕๐ไร และได
            ซื้อที่ดินเพิ่มอีก ๒๔ ไร ผูรองไดเริ่มเสียภาษีบำรุงทองที่ตอเนื่องมาตั้งแตป ๒๕๒๑ ในเนื้อที่ดิน ๒๘ ไร ตอ

            มาไดแบงพื้นที่ใหลูกและภรรยาไปรวมจำนวน ๑๐๐ไร ในสวนพื้นที่ที่ตรวจยึดแปลงทั้งสองแปลงเนื้อที่ ๓๓
            ไร และ ๑๕ไร ไดปลูกขาวโพด มะมวง ขาวไร ขนุน นุน มะนาวและเลี้ยงควาย กอนเปลี่ยนมาปลูกยางพารา
            ในป ๒๕๔๗ ตามคำแนะนำจากเจาหนาที่เกษตร
                      (๒) รูปแผนที่การใชที่ดินของผูรอง ในพื้นที่อุทยานแหงชาติไทรโยค จำนวน ๓ แปลง โดยไดทำ
            รูปแผนที่เปรียบเทียบกับแนวเขตอุทยานแหงชาติไทรโยค แนวเขตควบคุม พื้นที่ที่อยูกอนการประกาศจัดตั้ง
            อุทยานแหงชาติไทรโยค และพื้นที่ที่อยูหลังการประกาศจัดตั้งอุทยานแหงชาติไทรโยค ซึ่งผลปรากฏดังนี้
                      แปลงที่ ๑  แปลงที่มีการรังวัดตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ พื้นที่

            ๓๘-๓-๔๘ ไร พื้นที่อยูในแนวเขตควบคุม และเปนพื้นที่ที่อยูหลังการประกาศเขตอุทยานแหงชาติไทรโยค
                      แปลงที่ ๒ แปลงจับกุม เนื้อที่ ๑๕ ไร เปนพื้นที่อยูกอนการประกาศจัดตั้งอุทยานแหงชาติ
            ไทรโยค มีเสนแนวเขตดานตะวันออกเฉียงเหนือสวนหนึ่งซอนทับกับแนวเขตควบคุม
                      แปลงที่ ๓ แปลงจับกุม เนื้อที่ ๓๓ ไร เปนพื้นที่อยูกอนการประกาศจัดตั้งอุทยานแหงชาติ
            ไทรโยค โดยมีเสนแนวเขตดานตะวันออกเฉียงเหนือเกือบทั้งหมดทับซอนกับแนวเขตควบคุม



                    เสียงจากประชาชน
            238     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244