Page 79 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 79
การพัฒนาสมรรถนะ และคุณภาพชีวิตของบุคลากร อุดรธานี และจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อต่อยอด
ตลอดจนเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการท�างาน การท�างานเชิงรุกของ กสม. ในการให้บริการด้านการ
อย่างมีความสุขก่อให้เกิดผลิตภาพแก่องค์กร ซึ่งเป็น ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชน
ไปตาม “ยุทธศาสตร์ กสม. พ.ศ. 2560 – 2565” อย่างครอบคลุมและทั่วถึงในทุกภูมิภาคอันจะช่วย
ยุทธศาสตร์ที่ 5: การเสริมสร้างและพัฒนา สนับสนุนการท�างานของ กสม. ให้มีประสิทธิภาพ
กระบวนการท�างานและการบริหารจัดการองค์กรให้ มากยิ่งขึ้น
เกิดผลสัมฤทธิ์โดยยึดมั่นคุณธรรมและความโปร่งใส
โดยได้มีการด�าเนินงาน/กิจกรรมที่ส�าคัญใน 4 ด้าน
ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างองค์กร การพัฒนา
กระบวนการปฏิบัติงาน การพัฒนาสมรรถนะและ
เสริมสร้างค่านิยมบุคลากร และการพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
3.8.1 การพัฒนาโครงสร้างองค์กร
กสม. ให้ความส�าคัญกับการเข้าถึงประชาชน จึงมี
นโยบายจัดตั้งส�านักงานในภูมิภาค เพื่อขยาย
ขอบเขตการด�าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน โดย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้เปิดส�านักงาน
กสม. พื้นที่ภาคใต้เป็นแห่งแรก มีพื้นที่รับผิดชอบ ผลการด�าเนินงาน ในภาพรวม
ครอบคลุม 14 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง
นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต
ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี 3.8.2 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน
เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 ส�านักงานฯ ตั้งอยู่ที่ 1) การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
อาคารสันติภาพ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity บทที่
3
เลขที่ 31 ถนนปุณณกัณฑ์ ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอ and Transparency Assessment: ITA) กสม.
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมีภารกิจในการสนับสนุน ให้ความส�าคัญกับการด�าเนินงานที่โปร่งใสและได้เข้ารับ
การปฏิบัติงานของส�านักงาน กสม. ส่วนกลางในทุกด้าน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรับเรื่องร้องเรียน ประสาน ด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐของส�านักงาน ป.ป.ช.
ตรวจสอบและติดตามการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ประสานงานและพัฒนาความร่วมมือกับเครือข่าย
ด้านสิทธิมนุษยชน และเฝ้าระวังและติดตาม
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ภาคใต้
ทั้งนี้ กสม. มีแผนที่จะจัดตั้งส�านักงาน กสม. พื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ส�านักงานดังกล่าวจะมีพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุม
20 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ
นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม
มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร
สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวล�าภู อ�านาจเจริญ
77