Page 75 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 75

ส�านักงาน กสม. ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการประเมิน  กลุ่มคนที่อยู่ในภาวะยากล�าบาก เด็ก และผู้สูงอายุ
              สถานะของ กสม. ณ ส�านักงาน กสม. และผ่านระบบ       รวมถึงประเด็นการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพื้นที่
              ทางไกล (Zoom Meeting) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้   ของพลเมือง

              (1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักการปารีสและ
              การเข้ารับการประเมินสถานะของ กสม. (2) เพื่อแลกเปลี่ยน   2) กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน
              ประสบการณ์และถอดบทเรียนการท�างานทางด้าน  แห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia Pacific Forum
                                                                                                           8
              การประเมินสถานะของ กสม. และ (3) เพื่อรวบรวม      of National Human Rights Institutions: APF)
              ข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอแนะในการด�าเนินงานใน       กสม. ได้เข้าร่วมประชุมประจ�าปี เพื่อเปิดโอกาสให้
              อนาคตจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการท�างานเพื่อใช้     สมาชิกได้ทบทวนการท�างานในปีที่ผ่านมา โดยมีประเด็น
              ประโยชน์ในการเข้ารับการประเมินสถานะของ กสม.  การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการท�างานในช่วง
              ในรอบต่อไปการได้รับสถานะ A จะท�าให้ กสม. ได้รับ  สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

              ความเชื่อมั่นในการด�าเนินงานจากทุกภาคส่วน รวมทั้ง  2019 (COVID-19) ของกลุ่มคนเปราะบาง (กลุ่มผู้สูงอายุ
              สามารถมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในประเด็น     ผู้พิการ สตรีและเด็ก ผู้อพยพและผู้ลี้ภัย และกลุ่มผู้มีความ
              สิทธิมนุษยชนต่าง ๆ ในเวทีสหประชาชาติได้มากขึ้น   หลากหลายทางเพศ) บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชน
              ทั้งนี้  กสม.  ยังต้องติดตามความคืบหน้าเรื่อง  แห่งชาติต่อการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานรวมถึง

              การแก้ไขกฎหมายต่อไป เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ SCA  การจ่ายค่าจ้างอย่างเท่าเทียม และการหารือระดับสูง
              จะติดตามเมื่อ กสม. ต้องเข้ารับการทบทวนสถานะ  ของ APF (APF High Level Dialogue: HLD) เพื่อหารือ
              ในอีก 5 ปีข้างหน้า                               เกี่ยวกับการเตรียมการเข้ารับการประเมินสถานะ
                                                               ของ กสม. ตามหลักการปารีส บทบาทของสถาบัน           ผลการด�าเนินงาน  ในภาพรวม

              3.6.2 ความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชน  สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการจัดการไต่สวนสาธารณะ
              แห่งชาติภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ       (Public Inquiry) ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน และประเด็น
                 ซึ่ง กสม. เป็นสมาชิกในกรอบความร่วมมือ 3 ระดับ   ผู้โยกย้ายถิ่นฐานในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด
              ดังนี้                                           ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
                                                                                                               บทที่

                 1) กรอบความร่วมมือเครือข่ายพันธมิตรระดับ        3) กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน   3
              โลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (Global   แห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South
              Alliance of National Human Rights Institutions:   East Asia National Human Rights Institutions

              GANHRI)  กสม.  เข้าร่วมประชุมประจ�าปีและ  Forum: SEANF)  ในปีที่ผ่านมา สมาชิกได้มีการแลกเปลี่ยน
                                                                            9
              การประชุมสมัชชาใหญ่ โดยมีประเด็นการแลกเปลี่ยน    ประเด็นข้อท้าทายที่ส�าคัญในภูมิภาค เช่น การจัดตั้ง
              ประสบการณ์เกี่ยวกับโอกาสและความท้าทายที่มีผลต่อ  ส�านักงานเลขาธิการถาวร รวมทั้งได้พิจารณาความคืบหน้า
              การปฏิบัติหน้าที่ในยุคของดิจิทัล การเข้าถึงกลุ่มคน  ของ SEANF ที่กรุงจาการ์ตา การจัดท�าเว็บไซต์ และ

              เปราะบาง เช่น คนพิการ บุคคลในพื้นที่ห่างไกล หรือ  ความร่วมมือระหว่าง SEANF กับคณะกรรมาธิการ






              8   สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคที่เป็นสมาชิกรวมทั้งสิ้น 22 แห่ง โดยแบ่งออกเป็นสมาชิกสามัญ (มีสิทธิในการออกเสียง) จ�านวน 15 แห่ง ได้แก่
                อัฟกานิสถาน ออสเตรเลีย อินเดีย อินโดนีเซีย จอร์แดน มาเลเซีย มองโกเลีย เนปาล นิวซีแลนด์ ปาเลสไตน์ ฟิลิปปินส์ กาตาร์ เกาหลีใต้ ไทย และ
                ติมอร์-เลสเต และสมาชิกสมทบ หรือ Associate Member ซึ่งไม่มีอ�านาจในการออกเสียง แต่สามารถเข้าร่วมการประชุมภายใต้กรอบ APF ได้ในทุกระดับ
                จ�านวน 7 แห่ง ได้แก่ บังกลาเทศ ศรีลังกา มัลดีฟส์ โอมาน ซามัว เมียนมา และ คาซักสถาน
              9   สมาชิกของ SEANF ประกอบด้วย สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคที่มีการจัดตั้งแล้ว 6 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์
                ไทย และติมอร์-เลสเต

                                                                                                                73
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80