Page 77 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 77
ภาคประชาสังคมในด้านสิทธิมนุษยชน และการพัฒนา
ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของส�านักงาน กสม. ให้มีความเชี่ยวชาญ
เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ให้
สอดคล้องกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
QR code: กิจกรรมความร่วมมือกับหน่วยงานของสหประชาชาติ องค์กรต่างประเทศ
ภาคประชาสังคม และคณะทูตานุทูตที่ประจ�าอยู่ในประเทศไทย
3.7 การวิเคราะห์ผลการติดตาม กรณีที่ กสม. มีข้อเสนอแนะไปยังส่วนราชการหรือ
การดำาเนินงานตามหน้าที่และ เอกชนที่เกี่ยวข้องตามรายงานผลการตรวจสอบการ
อำานาจของคณะกรรมการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน (ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันหรือ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือข้อเสนอแนะ
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง) พบว่า
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ด�าเนินการเป็นไปตามหรือ
ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วย สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของ กสม. แล้ว แม้ว่าอาจจะ ผลการด�าเนินงาน ในภาพรวม
การติดตามผลการด�าเนินการด้านสิทธิมนุษยชน มีส่วนราชการบางแห่งไม่อาจด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ
พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 24 ประกอบ ของ กสม. ได้ แต่ก็มีเหตุผลอันสมควร เช่น กรณี
ข้อ 5 ก�าหนดให้ส�านักงาน กสม. สรุปและวิเคราะห์ โครงการเหมืองแร่ถ่านหิน อ�าเภออมก๋อย จังหวัด
ผลการติดตามผลการด�าเนินการด้านสิทธิมนุษยชน เชียงใหม่ ซึ่งมีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานรัฐจัดประชุม
ที่ กสม. ได้เสนอต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หน่วยงานของรัฐ หารือกับภาคเอกชนเพื่อก�าหนดประเด็นหรือแนวทาง บทที่
3
หรือเอกชนที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอต่อ กสม. ภายใน แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แต่ภาคประชาชนปฏิเสธ
45 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ซึ่งในปีงบประมาณ เข้าร่วมประชุมหารือ ข้อเสนอแนะจึงไม่อาจบรรลุผลได้
พ.ศ. 2565 มีผลด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ หากปราศจากความร่วมมือจากภาคประชาชน
ด้านสิทธิมนุษยชนของข้อ 5 ในระเบียบฉบับดังกล่าว เป็นต้น ส�าหรับข้อเสนอในรายงานผลการประเมิน
ได้แก่ ผลด�าเนินการตามข้อเสนอแนะในรายงานผล สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย และ
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนและรายงาน ข้อเสนอในรายงานคู่ขนานการประเมินสถานการณ์
ข้อเสนอแนะ จ�านวน 146 ค�าร้อง (ข้อ 5 (1) และ (3)) สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ตามกระบวนการ
ผลด�าเนินการตามข้อเสนอแนะในรายงานผล Universal Periodic Review รอบที่ 3 ปรากฏว่า
การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของ การด�าเนินนโยบายของรัฐบาลและการปฏิบัติงาน
ประเทศ (ข้อ 5 (2)) ผลด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ ของส่วนราชการ รวมทั้งแนวทางการด�าเนินการหรือ
เพื่อการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง ผลด�าเนินการของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแจ้งมายัง
เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน (ข้อ 5 (3)) ส�านักงาน กสม. ส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกับ
และผลด�าเนินการตามข้อเสนอในรายงานคู่ขนาน ข้อเสนอแนะของ กสม. ส่วนข้อเสนอที่ยังไม่ได้รับแจ้ง
การทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal ผลด�าเนินการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ส�านักงาน กสม.
Periodic Review) ของประเทศไทย (ข้อ 5 (9)) อยู่ระหว่างการติดตามผลด�าเนินการซึ่งน่าจะปรากฏ
75